เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ข้อมูลส่วนตัว
- ผู้อำนวยการศูนย์กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
การศึกษา
- Master of Science in Crime Science (with Merit), University College London, United Kingdom
- นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายอาญา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น สาขากฎหมายอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
- นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หัวข้อ
วิทยานิพนธ์
- A Crime Script Analysis of Public Mass Shooting in Thailand Master of Science (MSc) in Crime Science, University of London
- อาชญากรรมต่อมนุษยชาติกับฐานความผิดในกฎหมายอาญาไทย (นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ประสบการณ์
การทำงาน
- พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน: อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2560: อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- พ.ศ. 2556: ทนายความ สำนักกฎหมาย เดชอุดม แอนด์ แอสโซซิเอทส์
สาขาที่สนใจ
- กฎหมายอาญาภาคทั่วไป
- กฎหมายอาญาภาคความผิด
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- Environmental Criminology
หลักสูตร
ที่สอน
- กฎหมายอาญา
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ผลงาน
ทางวิชาการ
- เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร, ‘การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดในประมวลกฎหมายยาเสพติด: ศึกษาช่องทางการเข้าสู่การบำบัดรักษาและผลทางกฎหมายกรณีการบำบัดรักษาไม่สำเร็จ’ (รายงานวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2567)
- เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร, ‘ปัญหาของผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายตามมาตรา 4 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา’ (2567) 3 วารสารบัณฑิตศึกษานิติศาสตร์ 565, 565-588 <https://so01.tci-thaijo.org/index.php/gradlawtujournal/article/view/272354>
- เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร, ‘ปัญหาของผู้มีอำนาจจัดการแทนผู้เสียหายตามมาตรา 4 แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา’ (รายงานวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2565) <https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:192015>
- เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร, ‘การพิจารณาคดีอาญาโดยไม่ปรากฏตัวจำเลย’ (2565) 1 วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 29, 29-64 <https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tulawjournal/article/view/257323>
- เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร, ‘การพิจารณาคดีอาญาโดยไม่ปรากฏตัวจำเลย’ (รายงานวิจัยเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2563) <https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:176894>
ผลงานทางวิชาการที่มีส่วนร่วม
- ณรงค์ ใจหาญ และคณะ ‘โครงการจัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 3’ (รายงานฉบับสมบูรณ์เสนอต่อสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) 2563) <https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/809>
- ณรงค์ ใจหาญ และคณะ, ‘โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม’ (รายงานฉบับสมบูรณ์เสนอต่อกองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2562) <https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:166110>
รางวัล
- รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น สาขากฎหมายอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในหัวข้อเรื่อง “อาชญากรรมต่อมนุษยชาติกับฐานความผิดในกฎหมายอาญาไทย”