ณรงค์ ใจหาญ
ศาสตราจารย์
ณรงค์ ใจหาญ
ศาสตราจารย์
การศึกษา
- นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- LL.M. Kent University ประเทศสหราชอาณาจักร
สาขา
ที่สนใจ
- กฎหมายอาญา
- อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
หลักสูตร
ที่สอน
- กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป
- กฎหมายอาญา : ภาคความผิด
- สัมมนาปัญหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
- อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
ผลงาน
ทางวิชาการ
- ณรงค์ ใจหาญ. (2553). การจัดแบ่งกลุ่มความรับผิดชอบและโทษทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญาของไทย (Classification of Crime). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานศาลยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2554). ศึกษาปัญหาข้อขัดข้องการบังคับใช้กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่แก้ไขใหม่ในส่วนที่เกี่ยวกับพยานหลักฐาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานศาลยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2554). โครงการศึกษาแนวทางการจ่ายค่าทดแทนผู้เสียหาย และค้าตอบแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544: กรณีศึกษาองค์กรศาลเป็นผู้พิจารณาสั่งจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2554). โครงการพัฒนากฎหมายคุ้มครองพยานในคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2555). โครงการตรวจกำกับการประปาสัมปทาน(การฝึกปฏิบัติและส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการประปาเอกชนเข้าสู่กระบวนการขอสัมปทาน). กรุงเทพมหานคร: กรมทรัพยากรน้ำ.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2555). โครงการพัฒนากฎหมายและประสิทธิภาพการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหาย ผู้ต้องหา และจำเลยในคดีอาญาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และมาตรฐานสากล. กรุงเทพมหานคร: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ.
- Narong Jaiharn. (2012). A Preliminary Analysis of Access to Justice Problems in Rural Areas. Bangkok: UNDP Thailand.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2555). ประสิทธิภาพในการดำเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานอัยการพิเศษ ฝ่ายสถาบันกฎหมายอาญา.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). โครงการจัดทำฐานความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของต่างประเทศในการส่งเสริมการดำเนินงานตามโครงการในพระราชดำริพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิตติยาภา. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ และคณะ. (2556). จัดทำยุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงานเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในปี 2558. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). โครงการศึกษาทบทวนและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อจัดทำร่างพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. …. กรุงเทพมหานคร: กรมทรัพยากรน้ำ.
- ณรงค์ ใจหาญ และคณะ. (2556). การพัฒนาแนวทางการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ กระบวนงาน: ส่งเสริมสิทธิแก่ผู้ต้องหาในชั้นสอบสวนในคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ.
- ณรงค์ ใจหาญ และรณกรณ์ บุญมี. (2556). โครงการพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลถูกบังคับให้สูญหาย. กรุงเทพมหานคร: การประปานครหลวง.
- ณรงค์ ใจหาญ และคณะ. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบการกระทำความผิดฐานฉ้อโกงตามกฎหมายอาญาของประเทศไทยกับความผิดฐานฉ้อโกงของประเทศต่างๆ ในประชาคมอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานอัยการสูงสุด.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). โครงการศึกษาแนวทางการจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญาโดยรัฐอันเกิดจากความผิดพลาดของกระบวนการยุติธรรม ตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช่จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544: กรณีศึกษาองค์การศาลเป็นผู้พิจารณาสั่งจ่ายค่าทดแทนและค่าใช่จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา. กรุงเทพมหานคร: กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). โครงการศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรคในการตรวจกำกับกิจการประปาสัมปทาน. กรุงเทพมหานคร: กรมทรัพยากรน้ำ.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). การนำกระบวนการยุติธรรมทางเลือกมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ: ศึกษาเปรียบเทียบนานาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานอัยการสูงสุด.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). โครงการจัดทำหลักสูตรฝึกอบรมวิทยากรและหลักสูตรเผยแพร่หลักการและการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี. กรุงเทพมหานคร: การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2556). โครงการตรวจกำกับกิจการประปาสัมปทาน (การฝึกปฏิบัติและส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการประปาเอกชนเข้าสู่ระบบการขอสัมปทาน). กรุงเทพมหานคร: กรมทรัพยากรน้ำ.
- ณรงค์ ใจหาญ. (2557). โครงการศึกษาการเข้าเป็นภาคีของพิธีสารเลือกรับ/การถอนข้อสงวน/การเข้าเป็นภาคีตามสนธิสัญญาระหว่างประเทศจำนวน 4 ฉบับ กิจกรรมที่ 1 ศึกษาความพร้อมในการเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์. กรุงเทพมหานคร: การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.