นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์
ศาสตราจารย์ ดร.
นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์
ศาสตราจารย์ ดร.
การศึกษา
2531
- นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Bachelor Degree in Law, Faculty of Law, Thammasat University
2532
- เนติบัณฑิตไทย สำนักกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
Barrister-at-Law, Institute of Legal Education of the Thai Bar
2538
- Diplôme d’Etudes Françaises de l’Université – 2e Degré (avec la mention Très Bien)
(ประกาศนียบัตรภาษาฝรั่งเศส) Centre de Langue Appliquée (CLA)
l’Université de Franche-Comté, Besançon, France
2539
- Diplôme supérieur d’université (D.S.U.) de Droit commercial (ปริญญาโททางกฎหมายพาณิชย์)
l’Université PANTHEON-ASSAS Paris 2, Paris, France
2541
- Diplôme d’études approfondies (D.E.A.) de Droit des Affaires (ปริญญาโททางกฎหมายธุรกิจ)
l’Université JEAN-MOULIN Lyon 3, Lyon, France
2551
- Docteur en Droit spécialité de droit des affaires (avec la mention Très honorable avec félicitations du jury à l’unanimité) (ปริญญาเอกทางกฎหมายธุรกิจ)
l’Université JEAN-MOULIN Lyon 3, France
หัวข้อ
วิทยานิพนธ์
- Contrôle de Droit, Contrôle de Fait
ประสบการณ์
การทำงาน
- กรรมการตรวจสอบประจำมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
- กรรมการกฎหมาย บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
- อนุกรรมการกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ การรถไฟฟ้ามวลชนแห่งประเทศไทย จำกัด
- อนุกรรมการฝ่ายกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
- อนุกรรมการกฎหมายขายตรงและตลาดแบบตรง สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
- อนุกรรมการดำเนินการศึกษาและปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
- คณะทำงานด้านวิชาการในการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรมควบคุมโรค
- อดีตกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารสาขาเศรษฐกิจและการคลังของประเทศ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
- อดีตกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลัง สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
- อดีตผู้ทรงคุณวุฒิประจำสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- อดีตผู้อำนวยการศูนย์พัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
สาขา
ที่สนใจ
- กฎหมายหุ้นส่วน-บริษัท
- กฎหมายหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
- กฎหมายเอกเทศสัญญา
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- กฎหมายสิทธิมนุษยชน (กม สิ่งแวดล้อม / กม ข้อมูลส่วนบุคคล)
หลักสูตร
ที่สอน
- กฎหมายองค์กรทางธุรกิจ
- ปัญหากฎหมายธุรกิจ
- กฎหมายเอกเทศสัญญา 2 (สัญญาทางพาณิชย์)
- กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบกฎหมายฝรั่งเศส
ผลงาน
ทางวิชาการ
หนังสือ
- “กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค” กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2562.
- “คำอธิบายหลักกฎหมายเอกเทศสัญญา ลักษณะจ้างแรงงาน-จ้างทำของ-รับขน” กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสาร ประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2561.
- “คำอธิบายหลักกฎหมายเอกเทศสัญญา ลักษณะยืม-ฝากทรัพย์” กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2558.
- “คำอธิบายหลักกฎหมายเอกเทศสัญญา ลักษณะตัวแทน-นายหน้า” กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบ การสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2562.
- “กฎหมายลักษณะห้างหุ้นส่วน บริษัทจำกัด และบริษัทมหาชนจำกัด” กรุงเทพฯ: วิญญูชน. 2562.
- “การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการกับข้อพิจารณาทางกฎหมายปกครอง”ดร. ชาญชัย แสวงศักดิ์, ดร. บรรเจิด สิงคะเนติ, นายสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, กรุงเทพฯ: นิติธรรม. 2543.
งานวิจัย
- ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540, เสนอต่อคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ, กรกฎาคม 2543.
- การเปิดเผยเอกสารที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของทางราชการ, สิงหาคม 2543.
- การประกอบธุรกิจบัตรเครดิตในประเทศอังกฤษ, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, กันยายน 2545.
- ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า (Product Liability), เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, กันยายน 2545.
- การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามกฎหมายฝรั่งเศส (Enquête publique), เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, มกราคม 2546.
- ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ, เสนอต่อสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี, เมษายน 2546.
- กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ, กันยายน 2547.
- ระบบกฎหมายล้มละลายในประเทศไทย, เสนอต่อสถาบันกฎหมายพัฒนาเศรษฐกิจ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, กันยายน 2547.
- โครงการศึกษาวิจัยเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, เสนอต่อสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข , ธันวาคม 2547.
- แนวทางการพัฒนาระบบการตรวจเงินแผ่นดินของไทย (Approaches to Reforming the Thai State Audit System), เสนอต่อสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน, สิงหาคม 2550.
- การทบทวนองค์ความรู้เพื่อรวบรวมและศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ กรมควบคุมโรค, กันยายน 2551.
- โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพและประเมินผลการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ชุดที่ 3, เสนอต่อสำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, กันยายน 2551.
- การศึกษาและยกร่างระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยการเสนอเรื่องต่อศาลและการฟ้องคดีต่อศาล พ.ศ. …. , เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, กรกฎาคม 2553.
- การจัดตั้งองค์กรด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคมและร่างระเบียบคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ว่าด้วยคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ….. , เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, กรกฎาคม 2553.
- โครงการศึกษาการบังคับใช้กฎหมายตรวจเงินแผ่นดิน, เสนอสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน, สิงหาคม 2554.
- การวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบการทุจริตเชิงนโยบาย, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ, พฤษภาคม 2555.
- ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ตุลาคม 2555.
- คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกเชนด้วยกัน, เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ตุลาคม 2555.
- รายงานการศึกษาเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนจากนโยบายของรัฐบาลในการประกาศสงครามต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด เมื่อปี พ.ศ. 2546, เสนอสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, กุมภาพันธ์ 2558.
- รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การดำเนินคดีแบบกลุ่ม: ศึกษากรณีเปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายฝรั่งเศส (Action de Groupe – « Class Action à la française »), เสนอคณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พฤษภาคม 2559.
บทความภาษาไทย
- “การใช้สิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้นตามกฎหมายฝรั่งเศส”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 1, มีนาคม 2542, หน้า 93–110.
- บรรเจิด สิงคะเนติ, และสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, “หลักความได้สัดส่วนตามหลักกฎหมายของเยอรมันและฝรั่งเศส”, วารสารรัฐธรรมนูญ ปีที่ 1 เล่ม 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2542), หน้า 40–70.
- “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจกับการคุ้มครองประโยชน์ส่วนรวม: กรณีศึกษาของฝรั่งเศส”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2542, หน้า 219 –236.
- บรรเจิด สิงคะเนติ, พิชิตพล ศรียานนท์, และสมศักดิ์ นวตระกูลพิสุทธิ์, “สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของราชการตามกฎหมายฝรั่งเศส เยอรมัน และสหรัฐอเมริกา”, วารสารกฎหมายปกครองเล่ม 17 ตอน 2 (สิงหาคม 2541), หน้า 82–115.
- “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายฝรั่งเศสว่าด้วยบริษัทที่ประสบปัญหาการเงิน”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 3, กันยายน 2542, หน้า 491 –521.
- “การใช้ประโยชน์ซึ่งระบบโทรทัศน์วงจรปิดและการดักฟังข้อมูลทางโทรศัพท์ตามกฎหมาย ฝรั่งเศส”, นิติสยามปริทัศน์’43 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, หน้า 147 –162.
- “การโอนหนี้ทางการค้ากับสัญญาแฟ็กเตอริงตามกฎหมายฝรั่งเศส”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่4, ธันวาคม 2543, หน้า 743 –779.
- “บริษัทจำกัดที่มีผู้ถือหุ้นเพียงคนเดียวตามกฎหมายฝรั่งเศส”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2544, หน้า 384 –398.
- “หุ้นที่ให้สิทธิในการรับเงินปันผลในลำดับแรกแต่ไม่มีสิทธิออกเสียง”, วารสารกฎหมายคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3, กรกฎาคม 2544, หน้า 101 –132.
- “ความเสี่ยงภัยอันเกิดจากพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์และทางเทคนิคกับความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่บกพร่อง”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 4, ธันวาคม 2544, หน้า 822 –857.
- “หุ้นบุริมสิทธิและสิทธิของผู้ถือหุ้นตามกฎหมายฝรั่งเศส”, วารสารกฎหมายปกครอง เล่ม 20 ตอน 3, หน้า 90–111.
- “ข้อความคิดเกี่ยวกับ Corporate Governance ในกฎหมายหุ้นส่วนบริษัทของไทย”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 32 เล่มที่ 4, ธันวาคม 2545, หน้า 824–848.
- “บริษัทมหาชนตามโครงสร้างแบบคานอำนาจตามกฎหมายฝรั่งเศส”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 33 เล่มที่ 1, มีนาคม 2546, หน้า 127–151.
- “กฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 1 ฉบับที่ 18, 16 ธันวาคม 2546, หน้า 51–52.
- “ร่างกฎหมายว่าด้วยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยกับผลกระทบต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 4, ธันวาคม 2546, หน้า 679–706.
- “พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ. ศ. 2551: หลักการและสาระสำคัญ”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1, มีนาคม 2551, หน้า 190–196.
- “อำนาจควบคุมของผู้ถือหุ้นและการกำหนดกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเพื่อความโปร่งใสของการบริหารจัดการและเพื่อการควบคุมการใช้อำนาจ: กรณีศึกษากฎหมายบริษัทของประเทศฝรั่งเศส (ตอนที่หนึ่ง)”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2551, หน้า 214–255.
- “พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551: กฎหมาย “วิธีสบัญญัติ” ที่บัญญัติ “เกินกรอบ” ของหลักกฎหมาย “สารบัญญัติ””, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 6 ฉบับที่ 99, กันยายน 2551, หน้า 44–61.
- “วิเคราะห์สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: กรณีศึกษาปัญหาเชิงโครงสร้างองค์กรตามกฎหมาย”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 6 ฉบับที่ 102, ธันวาคม 2551, หน้า 22–33.
- “ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ. ศ. 2551”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 6 ฉบับที่ 103, มกราคม 2551, หน้า 4–17.
- “อำนาจควบคุมของผู้ถือหุ้นและการกำหนดกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเพื่อความโปร่งใสของการบริหารจัดการและเพื่อการควบคุมการใช้อำนาจ: กรณีศึกษากฎหมายบริษัทของประเทศฝรั่งเศส (ตอนที่สอง)”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2, กันยายน 2551, หน้า 405–463.
- “วิเคราะห์คำพิพากษาศาลแพ่งคดีผู้บริโภค ที่ ผบ. 644/2551: บทพิสูจน์ “ความรวดเร็ว” ของกระบวนพิจารณาคดี และ “ความรอบคอบและรัดกุม” ของการทำคำพิพากษาของศาล”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 6 ฉบับที่ 105, มีนาคม 2552, หน้า 38–51.““องค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” กับ “ข้อพิจารณา” เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาเชิงโครงสร้างองค์กรและการดำเนินการขององค์กรอัน (อาจ) เกิดขึ้นจากกระบวนการสรรหากรรมการ”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 7 ฉบับที่ 108, มิถุนายน 2552, หน้า 16–34.
- ““อำนาจควบคุมบริษัท” ของ “คนต่างด้าว” กับกฎหมายไทยในปัจจุบัน: “ช่องว่าง” ที่ยัง (ต้อง) รอการแก้ไขปรับปรุง”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 7 ฉบับที่ 109, กรกฎาคม 2552, หน้า 18–34.
- “ความรับผิดของผู้ให้บริการทางการแพทย์และคลินิกรักษาผิวพรรณ ตามพระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. 2551”, วารสาร รพี 2552, สิงหาคม 2552, หน้า 63–81.
- “บทวิเคราะห์ความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา กรณีการมีผลใช้บังคับของบทบัญญัติมาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย”, วารสารกฎหมายใหม่ (Law Digest) ปีที่ 7 ฉบับที่ 111, กันยายน 2552, หน้า 33–50.
- “ความรับผิดของผู้ผลิตหรือผู้จำหน่าย “รถยนต์ใหม่” กับการคุ้มครองผู้บริโภค: “Product Liability Law” V.S. “Lemon Law””, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2553, หน้า 276–305.
- ““บทวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยแร่ พ.ศ. ….”: ร่างกฎหมายเพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการแร่หรือเพื่อ “การร่วมมือ (กัน)” ระหว่างองค์กรของรัฐและนายทุนธุรกิจ (?)”, รัฐสภาสาร, ปีที่ 48 ฉบับที่ 9, กันยายน 2553, หน้า 7–44.
- “พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551: ผลการใช้บังคับที่ “สวนทาง” กับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ (?)”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 4, ธันวาคม 2553, หน้า 741–768.
- “ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ….”: หลักการ “ดี” แต่เนื้อหาสาระยังต้อง “ปรับปรุง””, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 1, มีนาคม 2554, หน้า 43–75.
- “การดำเนินคดีแบบกลุ่ม”: ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการดำเนินคดีแบบกลุ่ม ของไทย และบทบาท “ใหม่” ของศาล , วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2554, หน้า 287–320.
- ““ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองผู้เสียหายจากการรับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ….”: หลักการเยียวยาความเสียหายแก่ผู้เสียหาย ในเชิงระบบโดยมิได้มุ่งโทษตัวบุคคล”, นิติเวชศาสตร์และกฎหมายการแพทย์ หนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสวันเกิดปีที่ 80 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์ 11 กุมภาพันธ์ 2555, หน้า 274–285.
- “ปัญหาการใช้บังคับพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551”, วารสารนิติศาสตร์ปีที่ 41 ฉบับที่ 1, มีนาคม 2555, หน้า 67–91.
- “ร่างกฎหมายว่าด้วยแร่ (ฉบับใหม่) กับการรับรองและส่งเสริม “สิทธิชุมชน” ตามรัฐธรรมนูญ”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 4, ธันวาคม 2555, หน้า 685–712.
- “การคุ้มครองผู้บริโภคกับปัญหาเฉพาะของระบบการคุ้มครองของประเทศไทย”, วารสารรพี 2557,
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สิงหาคม 2557, หน้า 83 – 117. - “สิทธิในความเป็นส่วนตัวเกี่ยวกับ “ข้อมูลส่วนบุคคล” กับมาตรการคุ้มครองตาม “ร่าง พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ….”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 43 ฉบับที่ 4, ธันวาคม 2557, หน้า 732 – 771.
- “การคุ้มครองผู้บริโภคโดย “การดำเนินคดีแบบกลุ่ม”: ศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการดำเนินคดีแบบกลุ่มของประเทศไทย”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 44 ฉบับที่ 1, มีนาคม 2558, หน้า 74 – 101.
- “ร่างพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. …. “ฉบับ กพร.”: บทพิสูจน์ “ความจริงใจ” ของรัฐในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและอย่างยั่งยืน”, หนังสือรพี 2558, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สิงหาคม 2558, หน้า 67 – 104.
- “การดำเนินคดีแบบกลุ่ม (Class Action): กรณีศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายสาธารณรัฐฝรั่งเศส”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 45 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2559, หน้า 230 – 272.
- “การรับงานไปทำที่บ้าน : “สัญญาลูกผสม” ระหว่างจ้างทำของและจ้างแรงงาน”, อาจาริยบูชา 65 ปี ศ. ดร. วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม, กันยายน 2562, หน้า 90 – 134.
- “การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค : ก้าวย่างสำคัญของการพัฒนาเพื่อการคุ้มครองที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 49 ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2563, หน้า 1 – 33.
บทความภาษาต่างประเทศ
- « La protection des données personnelles dans le secteur privé en droit positif thaïlandais », วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 4, ธันวาคม 2547, หน้า 598-612.
- « La protection des consommateurs en droit positif thaïlandais: la protection tant dans le « contenu » que dans la « procédure » », Revue de la Recherche Juridique, Droit prospectif, Presses Universitaires d’Aix–Marseille, 2011–1, n° 136ème, p. 255–260.
- « La « Class Action »: S’agit–il d’une mesure « convaincante » pour protéger les droits des consommateurs en Thaïlande? », Revue de la Recherche Juridique, Droit prospectif, Presses Universitaires d’Aix–Marseille, 2011–4, n° 139ème, p. 2149–2155.
- « Le contrôle des sociétés thaïlandaises par les investisseurs étrangers: la fiction de la « société thaïlandaise », ses ombres et ses dérives », Revue de la Recherche Juridique, Droit prospectif, Presses Universitaires d’Aix-Marseille, 2013-3, n° 148ème, p. 1473 – 1487.
- « Le droit de la protection des consommateurs en Thaïlande : des progrès indéniables mais sans portée suffisante », Mélanges en l’honneur du Professeur Jacques Mestre, Lextenso, éd.2019 , p. 717 – 726.
- « Le règlement amiable des différends en droit privé thaïlandais : Situation actuelle. Problèmes et insuffisances. Améliorations proposées et souhaitables, Les droits étrangers au secours des modes amiables de règlement des différends (MARD) », Presses universitaires de Franche–Comté, 2019, p. 41–54.