รณกรณ์ บุญมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
รณกรณ์ บุญมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ข้อมูลส่วนตัว
อาจารย์รณกรณ์ เป็นอาจารย์ประจำที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2551 มีความสนใจและเชี่ยวชาญในด้านปรัชญาของกฎหมายอาญา, กฎหมายอาญาเปรียบเทียบ, และกฎหมายสิทธิมนุษยชน อาจารย์รณกรณ์มีผลงานวิชาการหลากหลาย ทั้งตำรา งานวิจัย และบทความ ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ ยังเป็นกรรมการในหลายหน่วยงาน อาทิ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย, ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสิทธิของกลุ่มเปราะบางของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน และเป็นผู้ร่างรายงานประเทศที่ต้องเสนอต่อคณะกรรมการตามอนุสัญญาเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ อาทิ อนุสัญญาต่อต้านการทรมาน, กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและทางการเมือง, อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และ Common Core Document อาจารย์รณกรณ์ยังมีบทบาทเป็นพยานผู้เชี่ยวชาญในการพิจารณาคดีอาญาของศาลทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ อาทิ คดี Neville, R (On the Application Of) v Secretary of State for Justice [2021] EWHC 957 (Admin), คดีของศาลรัฐธรรมนูญ เรื่องพิจารณาที่ 19/2566, และคดีของศาลฎีกาที่ คมจ 5/2566 เป็นต้น
การศึกษา
- Doctor of Philosophy, National University of Singapore, ประเทศสิงคโปร์
- นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- Master of Laws with Merit (Human Rights Law), London School of Economics and Political Science, สหราชอาณาจักร (ทุนรัฐบาลสหราชอาณาจักร -The UK Government Chevening Scholarship)
- นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายอาญา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เนติบัณฑิตไทย, สำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ประกาศนียบัตรหลักสูตร ผู้บริหารระดับสูงด้านการอนุวัติมาตรฐานและบรรทัดฐาน ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนากระบวนการยุติธรรม (iCPCJ), สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ)
- ประกาศนียบัตรหลักสูตร International Criminal Law: In Theory and Practice, Universiteit Leiden, ประเทศเนเธอร์แลนด์
- ประกาศนียบัตรหลักสูตร Executive Deleopment Program, สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ประกาศนียบัตรหลักสูตรวิชาว่าความ,สำนักฝึกอบรมวิชาว่าความแห่งสภาทนายความแห่งประเทศไทย
สาขา
ที่สนใจ
- กฎหมายอาญา
- กฎหมายสิทธิมนุษยชน
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- ทฤษฎีกฎหมายอาญาและการบัญญัติกฎหมายอาญา
หลักสูตร
ที่สอน
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
- กฎหมายอาญา : ภาคทั่วไป
- กฎหมายอาญา : ภาคความผิด
- กฎหมายสิทธิมนุษยชน
หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต
- กฎหมายอาญาชั้นสูง
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสูง
- ปัญหากฎหมายอาญา
- สัมมนากฎหมายอาญา
- กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ
หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต
- ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์
- สัมมนาดุษฎีนิพนธ์
หลักสูตร LL.B.
- General Principles of Criminal Law
- Business Crimes
- General Principles of Procedural Law
- International Criminal Law
หลักสูตร LL.M.
- Advanced Criminal Law
หลักสูตร LL.B.
- Criminal Law
- Business Crime
- General Principles of Procedural Law
หลักสูตร LL.M.
- Advanced Criminal Law
ผลงาน
ทางวิชาการ
Books and Book Chapters published in English
- Ronnakorn Bunmee, ‘Abortion Law in Thailand: A Big Step Forward?’ in Mary Ziegler (ed), Research Handbook on International Abortion Law, (March 2023, Edward Elgar Publishing) https://doi.org/10.4337/9781839108150.00014
- Ronnakorn Bunmee, Thai Criminal Law (to be published by LexisNexis by August 2023)
Country Reports published in English
- Ronnakorn Bunmee “Thailand Country Report” 144-155 in ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights, Thematic Study on Legal Aid (2019) funded by ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights, available online at
AICHR-Thematic-Study-on-Legal-Aid-for-web.pdf
- Narong Jaiharn and Ronnakorn Bunmee, the Draft of Thailand Common Core Document (2021) funded by the Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, available online at
- Narong Jaiharn and Ronnakorn Bunmee, the Draft of Thailand 2nd Country Report on the United Nations Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment (2021) funded by the Department of Rights and Liberties Protection, Ministry of Justice, available online at
Articles published in English
- Ronnakorn Bunmee, Preparatory Offences: a Challenge to Criminal Law Boundaries, Democracy and Human Rights Principles (July 2016), 2 Social Science Asia: Official Journal of National Research Council of Thailand in conjunction with Journal of Thai Justice System 3, 1-29 available online at http://164.115.28.46/nrctejournal/file_upload/digital_file/98_36b34.pdf.
- Ronnakorn Bunmee, Criminalising Remote-Harm Conducts: Are They Wrongful?, in Sahetapy E et al., Tacking Financial Crimes (2017, Yogyakarta: Genta Publishing), 3-26.
- Ronnakorn Bunmee, An Experience Gained by Visiting the AGC (Singapore) (2018) 3 ASEAN Prosecutor Community Newsletter 8, 26-32
- Ronnakorn Bunmee, The criminal law as the ultima ratio: the principle that needs a qualification (2018) Nititham Prachak Surasak 60 Phee (นิติธรรมประจักษ์ สุรศักดิ์ 60 ปี), 230-254 available online at https://drive.google.com/file/d/13vh7sYRaogtmG0Kg_yMycpApVwbfsoSB/view
- Ronnakorn Bunmee, “Examining Elements of Rape Offences in Thailand” (2019) 48 Thammasat Law Journal 1, 200-219. available online at https://so05.tci-thaijo.org/index.php/tulawjournal/article/view/176807/136265
หนังสือ (ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย)
- ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ และรณกรณ์ บุญมี, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 24, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2565)
- ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ และรณกรณ์ บุญมี, คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิด และลหุโทษ (พิมพ์ครั้งที่ 20, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2565)
- ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ และรณกรณ์ บุญมี, ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง (พิมพ์ครั้งที่ 47, สำนักพิมพ์วิญญูชน 2565)
- รณกรณ์ บุญมี, หลักหกประการที่เกี่ยวข้องกับการใช้กำลังของเจ้าพนักงาน, ใน ศูนย์บริหารงานสอบสวน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, แนวทางปฏิบัติงานว่าด้วยกฎการใช้กำลังและอาวุธ (พิมพ์ครั้งที่ 1, โรงพิมพ์ตำรวจ 2565)
บทความ (ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย)
- รณกรณ์ บุญมี, “สิทธิที่จะนิ่งในคดีอาญาของประเทศอังกฤษ” (มิถุนายน 2552) 38 วารสารนิติศาสตร์ 2, 291-324.
- รณกรณ์ บุญมี, “การทรมานโดยจำเป็น” (ธันวาคม 2552) 38 วารสารนิติศาสตร์ 4, 430-454.
- รณกรณ์ บุญมี, “การฆ่าเพื่อรักษาชีวิต : ศึกษาจากกรณีผ่าตัดแยกแฝดสยาม” (มิถุนายน 2553) 39 วารสารนิติศาสตร์ 2, 306-338.
- รณกรณ์ บุญมี, “การขัดขืนการจับกุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายสหรัฐอเมริกา” (กันยายน 2553) 39 วารสารนิติศาสตร์ 3, 527-552.
- เอมผกา เตชะอภัยคุณ และรณกรณ์ บุญมี, “ความรับผิดทางอาญาของบิดามารดาที่เกิดจากการละเว้นหน้าที่ในการปกครองดูแลผู้เยาว์ตามกฎหมายของประเทศฝรั่งเศส” (มีนาคม 2553) 38 วารสารนิติศาสตร์ 1, 57-95.
- รณกรณ์ บุญมี, “ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราหลังการกระทำชำเราด้วยความยินยอม” (ธันวาคม 2553) 39 วารสารนิติศาสตร์ 4, 769-787.
- รณกรณ์ บุญมี, “พยายามข่มขืนกระทำชำเราปี 2553” (2553) ครอบครัว งานบริหาร อาจารย์ไพโรจน์ รวมข้อเขียนที่ระลึกในโอกาสอายุครบ60 ปี ศาสตราจารย์ ดร. ไพโรจน์ กัมพูสิริ, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 151-189.
- รณกรณ์ บุญมี, “การกระทำโดยจำเป็น: ศึกษาการนำไปใช้กับความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา” (มีนาคม 2554) 40 วารสารนิติศาสตร์ 1, 76-108.
- รณกรณ์ บุญมี, “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับเหตุยกเว้นความผิดและเหตุยกเว้นโทษ” (มิถุนายน 2554) 40 วารสารนิติศาสตร์ 2, 321-335.
- รณกรณ์ บุญมี, “การทำชำเราผิดธรรมดามนุษย์ในประเทศสิงคโปร์” (กันยายน 2555) 41 วารสารนิติศาสตร์ 3, 496-510.
- รณกรณ์ บุญมี, “ปัญหาในการกำหนดนิยามของการทรมาน และบัญญัติให้เป็นความผิดเฉพาะตามกฎหมายไทย” (2558) รพี 2558 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 39-66.
- รณกรณ์ บุญมี, “การตระเตรียมกระทำความผิด: การสำรวจและข้อพิจารณาเบื้องต้นตามหลักสิทธิมนุษยชน และหลักประชาธิปไตย” (2559) นำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติ นิติพัฒน์-ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 1, ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 28 มกราคม 2559, 83-105 เข้าถึงข้อมูลได้ที่ http://law.nida.ac.th/main/images/Data/nitipat/Nitipat.pdf.
- รณกรณ์ บุญมี, “ข้อสอบวิเคราะห์: ข้อสอบคัดเลือกและทดสอบความรู้เพื่อบรรจุเป็นข้าราชการตุลาการในตำแหน่งผู้ช่วยผู้พิพากษา ข้อ 1 กฎหมายอาญา ในการสอบวันที่ 2 สิงหาคม 2558” (2559) 45 วารสารนิติศาสตร์ 2, 357-364.
- รณกรณ์ บุญมี, “กฎหมายอาญาคืออะไร” (2559) 45 วารสารนิติศาสตร์ 3, 883-886.
- รณกรณ์ บุญมี, “การแอบมองหรือการแอบถ่ายภาพในทางเพศกับกฎหมายอาญา” (2560) รพี 2560 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 22-37.
- รณกรณ์ บุญมี, “การข่มขืนกระทำชำเราโดยหลอกลวง : วิเคราะห์คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 10007/2557 และการกระทำอื่นๆ” (2560) 46 วารสารนิติศาสตร์ 3, 647-663.
- รณกรณ์ บุญมี, “ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายอาญากับกฎหมายสิทธิมนุษยชน” (2561) จากวันนั้นถึงวันนี้ 15 ปีนิติศาสตร์ลำปาง, 92-104.
- รณกรณ์ บุญมี, “ไม่มีความผิด โดยไม่มีกฎหมาย: สำรวจการปรับใช้ในกฎหมาย ระบบกฎหมาย Anglo-American” (2561) 74 บทบัณฑิตย์ 4, 143-178.
- รณกรณ์ บุญมี, “การกำหนดให้การสำคัญผิดในข้อเท็จจริงที่ผู้กระทำมีอำนาจกระทำได้เป็นเหตุยกเว้นความผิดเป็นความผิดพลาดในการบัญญัติกฎหมาย” (2561) 60 ปี พี่ใหญ่ ใจหาญ, 280-303 เข้าถึงข้อมูลได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1MrnxeKNMNWC4uziHSKCzuQsXGbDi51G3/view.
- รณกรณ์ บุญมี, “การตระเตรียมกระทำความผิด: บทเรียนจากเนเธอร์แลนด์” (2561) 47 วารสารนิติศาสตร์ 3, 771-778.
- รณกรณ์ บุญมี, “การทำให้บุคคลตกอยู่ภายนอกการคุ้มครองของกฎหมาย: องค์ประกอบที่หายไปจากร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย” (2562) 60 ปี อุดม รัฐอมฤต ชีวิตและมิตรภาพบนเส้นทางวิชาการ, 405-413 availible online at https://bit.ly/3rzEt2W.
- รณกรณ์ บุญมี, “หลักประกันสิทธิของการบังคับใช้กฎหมยอาญาควรถูกนำไปใช้กับสภาพบังคับ “อื่น” หรือนอกจากโทษ “อาญา” หรือไม่: ข้อพิจารณาตามหลักเกณฑ์ของศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป” (2562) รัฐธรรมนูญ 60: 60 ปี สมคิด เลิศไพฑูรย์, 605-619 availible online at https://bit.ly/3qv0cHQ.
- รณกรณ์ บุญมี, “การพาลูกไปเที่ยวช่วงเปิดเทอมเป็นความผิดอาญา: บทเรียนจากประเทศอังกฤษ” (2563) สานฝัน 60 ปี อาจารย์แหวว : รศ.ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร, 366-377 availible online at https://bit.ly/2T3alwI?fbclid=IwAR0vTDqR692KdzHUwmNreZZbUekrp9qz2RW9wtGqBhJtJGFge-m1tO0lED4.
- รณกรณ์ บุญมี, “ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 285/1 กับข้อสันนิษฐานว่าจำเลยเป็นผู้บริสุทธิ์” (2563) รวมบทความวิชาการ เนื่องในโอกาส 60 ปี ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์, 511-530 availible online at https://bit.ly/2RKnN8y.
- รณกรณ์ บุญมี, “การไม่อนุญาตให้หญิงทำแท้งเมื่อพบความผิดปกติของทารกในครรภ์กับสิทธิที่จะไม่ถูกทรมาน หรือถูกปฏิบัติอย่างทารุณโหดร้าย” (พฤษภาคม – สิงหาคม 2563) 1 วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน 2 , หน้า 12-38.
รณกรณ์ บุญมี, “ศาสตราจารย์กฎหมายอาญากับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ” (2565) ใน รณกรณ์ บุญมี (บรรณาธิการ) หลักนิติธรรม : 9 ปีทวีเกียรติที่ศาลรัฐธรรมนูญ, หน้า 93-161.
วิจัย (ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย)
- ณรงค์ ใจหาญ และรณกรณ์ บุญมี, โครงการจัดทำร่างรายงานประเทศตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี ระยะที่ 1, 2552, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ และรณกรณ์ บุญมี, โครงการจัดทำร่างรายงานประเทศตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี ระยะที่ 2, 2553, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ, ปกป้อง ศรีสนิท, สุรสิทธิ์ แสงวิโรจน์พัฒน์ และรณกรณ์ บุญมี, การจัดแบ่งชั้นของความผิด, 2554, สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ, ปกป้อง ศรีสนิท และรณกรณ์ บุญมี, โครงการศึกษาแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพยาน, 2555 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ และรณกรณ์ บุญมี, โครงการจัดทำหลักสูตรต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี ให้กับเจ้าหนักงานและวิทยากร, 2555, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ, รณกรณ์ บุญมี, กนกวรรณ ชาติสุวรรณ และลี่ แสงสันติธรรม, รายงานวิจัยข้อเสนอแนะทางนโยบายเรื่อง กองทุนยุติธรรม :ข้อมูลและบทวิเคราะห์ผลการทำงาน และประสิทธิภาพในการให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายอันเนื่องมาจากสถานการณ์ความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้, 2556, สหภาพยุโรป และมูลนิธิ คอนราด อาเดนาวร์ (สามารถเข้าถึงได้ที่
http://www.deepsouthwatch.org/sites/default/files/justice_fund_report.pdf)
- ปกป้อง ศรีสนิท, รณกรณ์ บุญมี, นันทัช กิจรานันท์ และ บุญญภัทร์ ชูเกียรติ, มาตรการในการริบของกลาง: เปรียบเทียบหลักกฎหมายและแนวคำพิพากษาต่างประเทศ, 2557, สำนักงานอัยการสูงสุด.
- ณรงค์ ใจหาญ, รณกรณ์ บุญมี, ปรีญาภรณ์ อุบลสวัสดิ์ และ ภาคภูมิ โลหวริตานนท์, การศึกษาเปรียบเทียบการกระทำความผิดฐานฉ้อโกงตามกฎหมายอาญาของประเทศไทยกับความผิดฐานฉ้อโกงของประเทศต่าง ๆ ในประชาคมอาเซียน, 2557, สำนักงานอัยการสูงสุด.
- สุรศักดิ์ ลิขสิทธิวัฒนกุล, ปกป้อง ศรีสนิท, รณกรณ์ บุญมี และ วีระศักดิ์ แสงสารพันธ์, การพัฒนาแนวทางในการจัดทำคำพยานของศาลยุติธรรมให้สอดคล้องกับกฎหมายพยานหลักฐานที่แก้ไขใหม่, 2559, สถาบันวิจัยและพัฒนารพีพัฒนศักดิ์.
- ณรงค์ ใจหาญ, รณกรณ์ บุญมี และ ปรีชนก จุลเหลา, โครงการพัฒนากลไกและข้อเสนอด้านการช่วยเหลือทางกฎหมายเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน, 2559, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ และรณกรณ์ บุญมี, โครงการจัดทำร่างรายงานประเทศตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี ฉบับที่ 2 ระยะที่ 1, 2561, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ณรงค์ ใจหาญ และรณกรณ์ บุญมี, โครงการจัดทำร่างรายงานประเทศตามพันธกรณีภายใต้อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษอื่นที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือย่ำยีศักดิ์ศรี ฉบับที่ 2 ระยะที่ 2 และการจัดทำเอกสารหลัก (Common Core Document), 2562, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ปกป้อง ศรีสนิท และรณกรณ์ บุญมี, โครงการจัดทำร่างรายงานประเทศตามพันธกรณีภายใต้กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง ฉบับที่ 3 ระยะที่ 1, 2562, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม.
- ปกป้อง ศรีสนิท, ณภัทร สรอัฑฒ์, กรรภิรมย์ โกมลารชุน และรณกรณ์ บุญมี, โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนากฎหมายป้องกันและปราบปรามการทุจริต, 2562, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
- อุดม รัฐอมฤต, ชวนัสถ์ เจนการ, รณกรณ์ บุญมี, รัชฎา คงคะจันทร์, อัจฉรา ปัณฑรานุวงศ์ และคณะ, โครงการศึกษาวิจัยว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานในคดีอาญาในชั้นก่อนฟ้องให้เป็นระบบดิจิทัล, 2566, สถาบันนิติวัชร์ สำนักงานอัยการสูงสุด