สาวตรี สุขศรี
รองศาสตราจารย์
สาวตรี สุขศรี
รองศาสตราจารย์
การศึกษา
- พ.ศ. 2541 นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมดีมาก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2543 เนติบัณฑิตไทย สถาบันอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
- พ.ศ. 2547 นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขากฎหมายอาญา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2547 LL.M. Ludwig Maximilian München Universität, Germany
ประสบการณ์
การทำงาน
- พ.ศ. 2541-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 2554–2556 หัวหน้าภาควิชากฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- 2554-ปัจจุบัน ที่ปรึกษากฎหมาย สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณะสุข
- 2555-ปัจจุบัน คณะกรรมการพัฒนากฎหมายควบคุมการบริโภคยาสูบ, กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณะสุข
ความ
เชี่ยวชาญ
- กฎหมายอาญา
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- กฎหมายว่าด้วยอาชญากรรมคอมพิวเตอร์/ไซเบอร์
- กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
- กฎหมายสื่อสารมวลชน
- กฎหมายว่าด้วยการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
สาขา
ที่สนใจ
- กฎหมายอาญา
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- กฎหมายว่าด้วย อาชญากรรมคอมพิวเตอร์/ไซเบอร์
- กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
- กฎหมายสื่อสารมวลชน
หลักสูตร
ที่สอน
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระดับปริญญาตรี
- กฎหมายอาญาภาคทั่วไป
- กฎหมายอาญาภาคความผิด
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา
- สิทธิขั้นพื้นฐาน
- กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (อาชญากรรมคอมพิวเตอร์/ไซเบอร์)
ระดับปริญญาโท
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสูง (การรับฟังพยาน/พยานหลักฐานดิจิทัล)
- กฎหมายอาญาชั้นสูง
- อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยาชั้นสูง
- ปัญหากฎหมายอาญา
- กฎหมายเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (อาชญากรรมคอมพิวเตอร์/ไซเบอร์)
คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ระดับปริญญาโท
- กฎหมายและจริยธรรมการสื่อสารมวลชน
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
ระดับปริญญาตรี
- กฎหมายอาญาภาคทั่วไป
ผลงาน
ทางวิชาการ
บทความ
พ.ศ. 2542
- สาวตรี สุขศรี, “สถานภาพชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย”, หนังสือรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2542
- พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร / สาวตรี สุขศรี, “สถานภาพของบุคคลทีเกิด ในประเทศไทยก่อนวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2535”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 29
ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2542), หน้า 141-152.
พ.ศ. 2543
- สาวตรี สุขศรี, “ความผิดอาญาที่เกิดขึ้นจากการทุจริตทางทะเบียนและบัตร”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2543), หน้า 261-279
- สาวตรี สุขศรี, “การศึกษากฎหมายไทยเหมาะสมแล้วหรือไม่ในปัจจุบัน”, หนังสือรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2543, หน้า 111-121.
พ.ศ. 2544
- สาวตรี สุขศรี, “การคุ้มครองความปลอดภัยของพยานบุคคลในคดีอาญา”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2544), หน้า 690-713.
พ.ศ. 2547
- สาวตรี สุขศรี, “หมิ่นประมาทบนอินเทอร์เน็ต: กรณีบงกช คงมาลัย”, วารสารข่าวกฎหมาย, ปีที่ 35 (กันยายน 2547), หน้า 28-42.
พ.ศ. 2552
- สาวตรี สุขศรี, “วิวัฒนาการเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสาร: อาชญากรรมคอมพิวเตอร์กับปัญหาที่เกิดขึ้นในทางกฎหมาย”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2552), หน้า 189-208.
พ.ศ. 2553
- สาวตรี สุขศรี, “กฎหมายไทยกับเสรีภาพสื่อสารมวลชน”, หนังสือรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
- สาวตรี สุขศรี, “การแสวงหาข้อเท็จจริงและกระบวนการรับผิด : กรณีการ สลายการชุมนุม เม.ย – พ.ค. 53”, วารสารฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ตุลาคม – ธันวาคม 2553.
- สาวตรี สุขศรี, “2553 ยุคมืดแห่งการใช้กฎหมาย ยุคสมัยแห่งการคุกคาม สื่อ”, หนังสือพิมพ์ประชาไทออนไลน์, 2553
- สาวตรี สุขศรี, “จะทำอย่างไรกับลัทธิล่าแม่มดใหม่ใน ค.ศ. 2010”, หนังสือพิมพ์ประชาไทออนไลน์, 2553
พ.ศ. 2554
- สาวตรี สุขศรี, “บทวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ… (ฉบับเผยแพร่ วันที่ 20 มิถุนายน 2554)”, วารสารเทคโนโลยี โทรคมนาคม กสทช. 2554
พ.ศ. 2555
- สาวตรี สุขศรี, “ประเด็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)”, หนังสือรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555
- สาวตรี สุขศรี, “ถอดบทเรียนจากคำพิพากษายกฟ้องคดี 112 (คดีสุรภักดิ์)”, หนังสือพิมพ์ประชาไทออนไลน์, 2555
พ.ศ. 2556
- สาวตรี สุขศรี, “อาชญากรรมคอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ตตามกฎหมายอาญาเยอรมัน”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 42 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2556), หน้า 499-532
- Sawatree SUKSRI, “Freedom on the net 2013: a Global Assessment of Internet and Digital Media (Thailand)” in : full report of “Freedom House” (an independent watchdog organization dedicated to the expansion of freedom around the world), p. 690 – 706.
พ.ศ. 2557
- สาวตรี สุขศรี, “ฎีกาวิเคราะห์: คำพิพากษาฎีกาที่ 6374/2556 พระมหากษัตริย์ที่ ได้รับความคุ้มครองตามมาตรา 112”, วารสารนิติศาสตร์, ปี ที่ 43 ฉบับที่ 1
(มีนาคม 2557), หน้า 220-231. - สาวตรี สุขศรี, “บทเรียนจากการฟ้องคดีบริษัทยาสูบในสหรัฐอเมริกาสู่กฎหมายและมาตรการควบคุมยาสูบในประเทศไทย”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 43 ฉบับที่ 3 (กันยายน 2557), หน้า 564-601.
- สาวตรี สุขศรี, “ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 คุ้มครองพระมหากษัตริย์ไทยในอดีต ?, วารสารฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 12 ฉบับที่ 1, มกราคม-เมษายน 2557,
หน้า 130-146.
พ.ศ. 2558
- สาวตรี สุขศรี, “ร่างพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ: รัฐไม่เปิดโอกาส ให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นจริงหรือ?”, มติชนสุดสัปดาห์, 14 กุมภาพันธ์
- สาวตรี สุขศรี, “BDSM Contract: ค่าบังคับแห่งสัญญาในทางแพ่งกับหลักความ ยินยอมไม่เป็นความผิดในทางอาญา”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 44 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2558), หน้า 415-442.
- สาวตรี สุขศรี, “กฎหมายเศรษฐกิจดิจิทัลกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์”, หนังสือ รพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558, หน้า 13-35
- สาวตรี สุขศรี, “นโยบาย Single Internet Gateway เพื่อรัฐ เพื่อประชาชน หรือเพื่อใคร?”, หนังสือพิมพ์ประชาไทออนไลน์, 2558
พ.ศ. 2560
- สาวตรี สุขศรี, “ข้อสังเกตบางประการต่อคำพิพากษาคดีสมยศ พฤกษาเกษมสุข นับแต่ศาล ชั้นต้นถึงชั้นฎีกา”, หนังสือพิมพ์ประชาไทออนไลน์, 2560
- สาวตรี สุขศรี, “อาชญากรรมคอมพิวเตอร์/ไซเบอร์กับทฤษฎีอาชญาวิทยา”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2560), หน้า 415-432
พ.ศ. 2561
- สาวตรี สุขศรี, “อาชญากรรมความรุนแรงบนอินเทอร์เน็ต”, วารสารนิติศาสตร์, ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2561), หน้า 268-300
- สาวตรี สุขศรี, “สิทธิที่จะถูกลืมหรือหน้าที่ที่จะต้องลืมในพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560”, หนังสือรพีพัฒนศักดิ์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำปี พ.ศ. 2561, โรงพิมพ์เดือนตุลา, หน้า 83-97
- สาวตรี สุขศรี, “มูลเหตุจูงใจการก่ออาชญากรรม (ไซเบอร์) โดยรัฐ, หนังสือที่ระลึก 60 ปี พี่ใหญ่ ใจหาญ, คณะนิติศาสตร์ มธ., โรงพิมพ์เดือนตุลา, หน้า 304-339
พ.ศ. 2564
- สาวตรี สุขศรี, “พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558: ปัญหาของบทบัญญัติและการบังคับใช้”, วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 50 ฉบับที่ 4 (ธันวาคม 2564),
หน้า 532-573
งานวิจัย/หนังสือ
พ.ศ. 2542
- “โครงการจัดตั้งสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศในรูปแบบองค์การมหาชน” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์), เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)
พ.ศ. 2544
- “โครงการศึกษาสัญญาอนุญาต และสัญญาร่วมการงานขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย รศ.ดร.อำนาจ วงบัณฑิต), เสนอต่อ คณะกรรมการบริหารงานวิจัยและพัฒนา ทศท.
พ.ศ. 2554
- “โครงการวิจัย ผลกระทบจากกฎหมายและนโยบายของรัฐไทย ที่มีต่อการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการแสดงความเห็นของประชาชน ภายใต้สังคมข้อมูลข่าวสารแบบใหม่” (ผู้วิจัยและหัวหน้าโครงการ), เสนอ มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- “โครงการพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับยาสูบฯ โครงการที่ ๒: จัดระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. ๒๕๓๕” (ผู้วิจัย และจัดระดมความคิดเห็น), เสนอ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
พ.ศ. 2555
- “โครงการศึกษาแนวทางการจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญาโดยรัฐอันเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการยุติธรรม ตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544: กรณีศึกษาองค์กรศาลเป็นผู้พิจารณาสั่งจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย รศ.ณรงค์ ใจหาญ), เสนอต่อ สำนักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำเลยในคดีอาญา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม
- “โครงการวิจัยหัวข้อ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์: ผลกระทบจากพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และนโยบายของรัฐกับสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น” (ผู้วิจัยและหัวหน้าโครงการ), มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ เอชียตะวันออกเฉียงใต้
พ.ศ. 2556
- “โครงการสำรวจกฎหมายควบคุมยาสูบ: การฟ้องคดียาสูบและคำพิพากษาคดีในต่างประเทศ (Tobacco Litigation) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการคุ้มครองและเยียวยาสุขภาพของผู้สูบและไม่สูบบุหรี่ ผ่านการฟ้องคดีบริษัทหรือกลุ่มอุตสาหกรรมยาสูบในประเทศไทย” (ผู้วิจัย), เสนอ สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
- “โครงการพัฒนากฎหมายและประสิทธิภาพการคุ้มครองสิทธิของผู้เสียหาย ผู้ต้องหา และจำเลยในคดีอาญาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และมาตรฐานสากล” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย รศ.ณรงค์ ใจหาญ), เสนอต่อสำนักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำเลยในคดีอาญา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม
- “โครงการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศเพื่อปรับปรุงพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย ผศ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์), เสนอต่อสำหนักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัว
พ.ศ. 2561
- “โครงการทบทวนกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี (เฟสหนึ่ง)” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย ผศ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์), เสนอต่อสำหนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
พ.ศ. 2562
- “โครงการทบทวนกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี (เฟสสอง)” (ผู้วิจัยในคณะวิจัย ผศ.ดร.มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์), เสนอต่อสำหนักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัว
พ.ศ. 2563
- หนังสือ “กฎหมายว่าด้วยอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และอาชญากรรมไซเบอร์”, ได้รับทุนโครงการตำราคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี 2562
พ.ศ. 2564
- “โครงการศึกษาการบังคับใช้พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย” (ผู้วิจัย), เสนอต่อสถาบันพระปกเกล้า, สิงหาคม 2564