สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล
ศาสตราจารย์ ดร.
สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล
ศาสตราจารย์ ดร.
การศึกษา
- ปริญญาตรีนิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปีการศึกษา 2521 (พ.ศ.2522)
- เนติบัณฑิตไทย (น.บ.ท.) สมัยที่ ๓๒ จาก สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เมื่อ พ.ศ. 2523
- ปริญญาโทนิติศาสตร์มหาบัณฑิต (สาขากฎหมายอาญา) จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ ปีการศึกษา 2527
- ปริญญาโท E.A. (Sciences Criminelles-กฎหมายอาญา) จาก L’Université des Sciences Sociales de Toulouse ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2530
- ปริญญาเอก Doctorat en Droit (Mention Très Honorable-เกียรตินิยมดีมาก) จาก L’Université des Sciences Sociales de Toulouse ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2533
หัวข้อ
วิทยานิพนธ์
- วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (ภาษาไทย) เรื่อง “ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล : การศึกษาทางกฎหมายเปรียบเทียบโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับประเทศไทย”
- วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต (ภาษาฝรั่งเศส) เรื่อง “LES CAUSES DE JUSTIFICATION EN DROIT COMPARE FRANCO THAILANDAIS”
ประสบการณ์
การทำงาน
ตำแหน่งปัจจุบัน
- ผู้อำนวยการศูนย์กฎหมายอาญา และอาชญาวิทยา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย(องค์การมหาชน)(สธท-TIJ) (องค์การมหาชน)
- กรรมการกฤษฎีกาคณะที่ 11 (ธ.ค.2561-ปัจจุบัน)
- กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยมหิดล (ก.ค. 2559-ปัจจุบัน)
- กรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์(องค์การมหาชน)(พ.ค. 2562-ปัจจุบัน)
- กรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
- ประธานอนุกรรมการด้านศึกษา วิจัยและพัฒนากฎหมายและระบบงานกระบวนการยุติธรรม คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ(2557-ปัจจุบัน)
- อนุกรรมการพิจารณาเนื้อหารายการวิทยุ โทรทัศน์ สำนักงานกสทช. (ก.พ. 2557-ปัจจุบัน)
- อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน อ.ก.พ. สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
ประสบการณ์การทำงานใน ม.ธรรมศาสตร์
- คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2553-31 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
- รองอธิการบดีฝ่ายบุคคลและกฎหมาย ม.ธรรมศาสตร์ (1 มิ.ย. 2550-31 ต.ค. 2550)
- รองอธิการบดีฝ่ายการคลัง ม.ธรรมศาสตร์(1 พ.ย. 2550-31 พ.ค. 2553)
- กรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ประธานคณะกรรมการบริหารโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- รองประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หน้าที่ราชการพิเศษ
- กรรมการในคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) (16 ก.ค. 2553-15 ก.ค. 2555)
- ประธานคณะอนุกรรมการด้านการศึกษาวิจัยและกิจกรรมทางวิชาการ คอป.
ประสบการณ์
- กรรมการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ประเภทผู้แทนมหาวิทยาลัย (ก.พ.อ.)
- กรรมการคณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ประเภทผู้แทนข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย (ก.บ.ข.)
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านกระบวนการยุติธรรม คณะกรรมการพัฒนาการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ
- กรรมผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการคุมประพฤติ
วิทยากร
- วิทยากรหลักสูตรผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์และศาลอุทธรณ์ภาค สำนักงานศาลยุติธรรม
- วิทยากรหลักสูตรผู้ช่วยผู้พิพากษา รุ่นที่ ๖๔-ปัจจุบัน (การอบรมปฐมนิเทศ) สำนักงานศาลยุติธรรม
- วิทยากรหลักสูตรอัยการจังหวัด พ.ศ.๒๕๕๙ สำนักงานอัยการสูงสุด
- วิทยากรหลักสูตรผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.) สำนักงานศาลยุติธรรม
- วิทยากรหลักสูตรการบริหารงานยุติธรรมเชิงลึกแบบบูรณาการ/หลักสูตรหลักกระบวนการยุติธรรม สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
- วิทยากรหลักสูตรการบริหารงานยุติธรรมระดับกลาง-ยธก. สำนักกิจการยุติธรรม-สกธ กระทรวงยุติธรรม
- วิทยากรหลักสูตรการบริหารงานยุติธรรมระดับสูง-ยธส. สำนักกิจการยุติธรรม-สกธ กระทรวงยุติธรรม
- วิทยากรหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพสืบสวนสอบสวนคดีอาญา สถาบันส่งเสริมงานสอบสวน (ส.บ.ส.) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายท้องถิ่น สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
- วิทยากรหลักสูตรกฎหมายมหาชนกับการพัฒนามหาวิทยาลัย สถาบันคลังสมองของชาติ
สาขาที่สนใจ
- กฎหมายอาญา
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
- อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
หลักสูตร
ที่สอน
- สอนและชำนาญในสาขาวิชากฎหมายอาญา และวิธีพิจารณาความอาญา ทั้งระดับปริญญาตรี-โท ที่คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ในวิชาต่อไปนี้
ชั้นปริญญาตรี
(1) กฎหมายอาญาภาคทั่วไป(วิชาบังคับ)
(2) กฎหมายอาญาภาคความผิด(วิชาบังคับ)
(3) กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(วิชาบังคับ)
(4) กฎหมายอาญาเปรียบเทียบ(วิชาเลือก)
(5) สัมมนากฎหมายอาญา(วิชาเลือก)
ชั้นปริญญาโท
(6) ทฤษฎีกฎหมายอาญา(วิชาบังคับ)
(7) กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาชั้นสูง(วิชาบังคับ)
(8) ปัญหาชั้นสูงในกฎหมายอาญา(วิชาบังคับ)
(9) สัมมนากฎหมาย สาขากฎหมายอาญา(วิชาบังคับ)
(10) กฎหมายอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ(วิชาเลือก)
(11) การบริหารงานยุติธรรม(วิชาเลือก)
ชั้นปริญญาเอก
(12) ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์
และเป็นอาจารย์พิเศษที่ ม.แม่ฟ้าหลวง/ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ ม.พายัพ และ ม.กรุงเทพ
- เป็นที่ปรึกษา และกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโท-เอก ที่คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์/ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ และ ม.พายัพ
ผลงาน
ทางวิชาการ
หนังสือจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล
- ร.แลงกาต์ กับไทยศึกษา : รวมบทความแปลและบทความศึกษาผลงาน, สุรศักดิ์ ลิขสิทธิ์วัฒนกุล และกรรณิกา จรรย์แสง (บรรณาธิการ)
หนังสือจัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์วิญญูชน
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับอ้างอิง
- ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฉบับหัวเรื่องเรียงมาตรา
- ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับหัวเรื่องเรื่องมาตรา
- คำอธิบายการดำเนินคดีผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
- คำอธิบายความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ตามประมวลกฎหมายอาญา
- คำอธิบายความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลงตามประมวลกฎหมายอาญา
- บันทึกของ นายยอร์ช ปาดูซ์ (Georges PADOUX) ที่ปรึกษาการร่างกฎหมายของรัฐบาลสยามเกี่ยวกับการร่างกฎหมายลักษณะอาญา รศ. 127, (แปลและเรียบเรียง)
- ความรับผิดของผู้บริหารกิจการทางแพ่งและทางอาญา
- ปัญหาพิเศษในกฎหมายอาญา, (รวบรวมโดย ผศ.ดิเรก ควรสมาคม)
- คำอธิบายพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2547
งานวิจัย
- วิจัยเรื่อง “ ความยินยอมของผู้เสียหาย:ศึกษากรณีปลูกถ่ายอวัยวะ” เสนอต่อ คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2534
- วิจัยเรื่อง “การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหา จำเลย และผู้ต้องขัง ในประเทศไทย” เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา โดยร่วมกับ รศ.ณรงค์ ใจหาญ และคณะ, พ.ศ. 2540
- วิจัยเรื่อง “การประเมินสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบงานยุติธรรมทางอาญา” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในโครงการพัฒนางานวิจัยชุด ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบงานยุติธรรมในศตวรรษหน้า, พ.ศ. 2543
- วิจัยเรื่อง “กฎหมายด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในกระบวนการยุติธรรมที่ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิพื้นฐาน และพันธกรณีระหว่างประเทศรวมทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” เสนอต่อ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, พ.ศ. 2547
- วิจัยเรื่อง “โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, พ.ศ. 2550
- วิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยเรื่องความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล: ศึกษาเพื่อหาข้อเสนอทางนิติวิธีสำหรับประเทศไทย” เสนอต่อ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พ.ศ. 2551
- รายงานวิจัย “ La Protection des Droits de l’homme dans la procédure pénale en Thaïlande” ใน โครงการวิจัยเรื่อง Les Juridictions et la Protection des libertés (au Cambodge en France et Thaïlande), Prof.Jean-Marie CROUZATIER หัวหน้าโครงการ, จัดพิมพ์โดย Presse de l’Université des Sciences Sociales de Toulouse, 1995
- โครงการจัดทำกรอบความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรมอันอาจเกิดจากการถ่ายโอนแรงงาน/แรงงานข้ามชาติของประเทศในภูมิภาคอาเซียน (โครงการระยะที่ 1) เสนอต่อ สถาบันวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรม สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
- โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแนวทางการลงโทษหลักการลงโทษที่ได้สัดส่วน ศึกษากรณีคดียาเสพติดให้โทษเสนอต่อ สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
- โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบความรับผิดชอบทางอาญาของนิติบุคคลและผู้แทนนิติบุคคลของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ในประชาคมอาเซียน” เสนอต่อ สถาบันกฎหมายอาญา สำนักงานอัยการสูงสุด
- โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแนวทางในการจัดทำคำพยานของศาลยุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายพยานหลักฐานที่แก้ไขใหม่” เสนอต่อ สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม
- โครงการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการกำหนดความผิดอาญา: ศึกษากรณีของประเทศไทย” เสนอต่อ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2564
บทความ
- เรื่อง “บทบาทคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญากับการพัฒนากฎหมายอาญา” ใน หนังสือ รวมบทความวิชาการเนื่องในโอกาส 60 ปี ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์, พ.ศ. 2563
- เรื่อง “ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของ ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง” ใน หนังสือ รัฐธรรมนูญ 60 : 60 ปี สมคิด เลิศไพฑูรย์ รวมบทความวิชาการ เนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์, พ.ศ. 2562
- เรื่อง “การใช้ การตีความและการบัญญัติกฎหมาย: การคุ้มครองเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา” ในหนังสือที่ระลึก 60 ปี ศาสตราจารย์ณรงค์ ใจหาญ พ.ศ. 2561
- เรื่อง “โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาแนวทางการลงโทษหลักการลงโทษที่ได้สัดส่วน ศึกษากรณีคดียาเสพติดให้โทษ” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 46 ฉบับที่ 3 กันยายน 2560, หน้า
- เรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบความรับผิดชอบทางอาญาของนิติบุคคลและผู้แทนนิติบุคคลของประเทศไทยกับประเทศต่าง ๆ ในประชาคมอาเซียน” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2560, หน้า
- เรื่อง “การพัฒนาแนวทางในการจัดทำคำพยานของศาลยุติธรรมเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายพยานหลักฐานที่แก้ไขใหม่” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 46 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2560, หน้า
- เรื่อง “โครงสร้างความรับผิดทางอาญาของไทย:พิจารณาจากประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 62” ใน หนังสือ 65 ปี อาจารย์เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
- เรื่อง “หลักสัดส่วนในการกำหนดโทษ” ใน หนังสือ รพี ปี 2557 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- เรื่อง “La Responsabilité Pénale des Personnes Morales en Droit Thaï” (ภาษาฝรั่งเศส) (หน้า 99-105) ใน L’adaptation des Systèmes Juridiques Thaïlandais et Français à la Mondialisation, Sous la Direction de Gilbert ORSONI et Alexis BUGADA, Presses Universitaires d’Aix-Marseilles
- เรื่อง “Cent ans de relations juridiques franco-thaÏes ” (ภาษาฝรั่งเศส)/” 100 ปีความร่วมมือทางด้านกฎหมายไทย-ฝรั่งเศส” ใน La ThaÏlande: continuité du partenariat avec la France:Actes du colloque tenu en Sorbonne le 18 septembre 2006 Publié par le Ministère de la Culture / หนังสือ สืบสัมพันธ์ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส: รวมบทความสัมมนาทางวิชาการ ณ มหาวิทยาลัยปารีส IV (ซอร์บอนน์) 18 กันยายน 2549 กระทรวงวัฒนธรรมจัดพิมพ์,หน้า 127-141 (ภาษาฝรั่งเศส) และ หน้า 363-383 (ภาษาไทย)
- เรื่อง “หลักความขัดแย้งกันในบทบาทหน้าที่” ใน ยืนหยัดบนหลักนิติธรรม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิมพ์ในโอกาส 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร 7 พฤษภาคม 2552,หน้า 184-213
- เรื่อง “การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา” ในวารสารบทบัณฑิตย์ เล่ม 64 ตอน 3 (ก.ย.2551), หน้า 12-59
- เรื่อง “ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล:ศึกษาเพื่อหาข้อเสนอทางนิติวิธีสำหรับประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับกฎหมายอังกฤษและฝรั่งเศส” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2552,หน้า 71-105 และ ใน วารสารวิชาการ รพี’52 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว,หน้า 85-115
- เรื่อง “ความโปร่งใส และการตรวจสอบกระบวนยุติธรรมทางอาญาตามแนวทางในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540” ในวารสารบทบัณฑิตย์ เล่ม 54 ตอน 4 (ธ.ค. 2541),หน้า 56-80
- บทความเรื่อง “การดักฟังทางโทรศัพท์” ในรพีสาร ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 (ม.ค.-มี.ค. 2539) ,หน้า 34-48
- เรื่อง “กระบวนยุติธรรมทางอาญาในประเทศไทย:ปัญหาและข้อเสนอแนะบางประการ” ในวารสารดุลพาห ปีที่ 43 เล่มที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2539),หน้า 3-12
- เรื่อง “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของจำเลยตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย” ในหนังสือ รวมบทความทางวิชาการเพื่อเป็นอนุสรณ์แต่ ศาสตราจารย์ ไพโรจน์ ชัยนาม จัดพิมพ์โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2538
- เรื่อง “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับคำพิพากษาฎีกาที่ 3446/2537 เรื่องความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2538,หน้า 260-272
- บทความแนะนำหนังสือ “กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของ ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2538
- เรื่อง “ความรับผิดทางอาญของนิติบุคคล : การศึกษาทางกฎหมายเปรียบเทียบทางนิติวิธีในประเทศซีวิลลอว์ และคอมมอนลอว์” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2538,หน้า 684-707
- บทความแนะนำหนังสือ “ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง ของรองศาสตราจารย์ ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 กันยายน 2537
- บทความแนะนำหนังสือ “กฎหมายอาญา ภาค ๑ ของ ศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2537
- เรื่อง “หลักความชอบด้วยกฎหมายในกฎหมายอาญา” (PRINCIPLE DE LA LEGALITE CRIMINELLE) ในรวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 84 ปี ศาสตราจารย์ จิตติ ติงศภัทิย์ จัดพิมพ์โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2536
- เรื่อง “ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กันยายน 2536 และในวารสารอัยการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 221, ก.ค. 2539, หน้า 35-57
- เรื่อง “ตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสกับการควบคุมกฎหมายอาญามิให้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ” ในรวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปี ศาสตราจารย์ ไพโรจน์ ชัยนาม จัดพิมพ์โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2535
- บทความเรื่อง “ข้อถกเถียงทางวิชาการเกี่ยวกับเหตุยกเว้นโทษ” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2534
- เรื่อง “ความยินยอมในการปลูกถ่ายอวัยวะ:ปัญหาทางกฎหมายและทางแก้ไข” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2534
- เรื่อง “กฎหมายอาญาที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน 2533
- เรื่อง “การพยายามกระทำความผิดที่เป็นไปไม่ได้แน่แท้ตามกฎหมายฝรั่งเศส” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2532 หน้า 50 – 58
- เรื่อง “บันทึกของนายยอร์ช ปาดูซ์ (PADOUX) เกี่ยวกับการร่างกฎหมายลักษณะอาญา รศ. 127” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2531 หน้า 1-38
- เรื่อง “การกระทำโดยจำเป็น : เหตุที่ผู้กระทำมีอำนาจกระทำได้ตามกฎหมายฝรั่งเศส” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับ 3 พ.ศ. 2530 หน้า 143– 153
- เรื่อง “ฎีกาวิเคราะห์ : สิทธิดูแลครอบงำการจัดการของหุ้นส่วนจำกัดความรับผิด” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2527
- เรื่อง “ฎีกาวิเคราะห์ : คดีสำหรับนักเล่นหุ้น” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2526
- เรื่อง “ฎีกาวิเคราะห์ : ชาย (หญิง) แมงดา” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2526
งานวิจัย
- วิจัยเรื่อง “ ความยินยอมของผู้เสียหาย:ศึกษากรณีปลูกถ่ายอวัยวะ” เสนอต่อ คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2534
- วิจัยเรื่อง “การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้ต้องหา จำเลย และ ผู้ต้องขัง ในประเทศไทย” เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา โดยร่วมกับ รศ.ณรงค์ ใจหาญ และคณะ, พ.ศ. 2540
- วิจัยเรื่อง “การประเมินสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบงาน ยุติธรรมทางอาญา” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในโครงการพัฒนางานวิจัยชุด ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบงานยุติธรรมในศตวรรษหน้า, พ.ศ. 2543
- วิจัยเรื่อง “กฎหมายด้านการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในกระบวนการยุติธรรมที่ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิพื้นฐาน และพันธกรณีระหว่างประเทศรวมทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย” เสนอต่อ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, พ.ศ. 2547
- วิจัยเรื่อง “โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาระบบการตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา” เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ,พ.ศ. 2550
- วิจัยเรื่อง “โครงการวิจัยเรื่องความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล: ศึกษาเพื่อหาข้อเสนอทางนิติวิธีสำหรับประเทศไทย” เสนอต่อ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พ.ศ. 2551
- รายงานวิจัย “ La Protection des Droits de l’homme dans la procédure pénale en Thaïlande” ใน โครงการวิจัยเรื่อง Les Juridictions et la Protection des libertés (au Cambodge en France et Thaïlande), Prof.Jean-Marie CROUZATIER หัวหน้าโครงการ, จัดพิมพ์โดย Presse de l’Université des Sciences Sociales de Toulouse, 1995
บทความ
- เรื่อง “La Responsabilité Pénale des Personnes Morales en Droit Thaï” (ภาษาฝรั่งเศส)(หน้า 99-105) ใน L’adaptation des Systèmes Juridiques Thaïlandais et Français à la Mondialisation, Sous la Direction de Gilbert ORSONI et Alexis BUGADA, Presses Universitaires d’Aix-Marseilles
- เรื่อง “Cent ans de relations juridiques franco-thaÏes ” (ภาษาฝรั่งเศส)/”100 ปีความร่วมมือทางด้านกฎหมายไทย-ฝรั่งเศส” ใน La ThaÏlande: continuité du partenariat avec la France:Actes du colloque tenu en Sorbonne le 18 septembre 2006 Publié par le Ministère de la Culture / หนังสือ สืบสัมพันธ์ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส: รวมบทความสัมมนาทางวิชาการ ณ มหาวิทยาลัยปารีส IV (ซอร์บอนน์) 18 กันยายน 2549 กระทรวงวัฒนธรรมจัดพิมพ์,หน้า 127-141(ภาษาฝรั่งเศส) และ หน้า 363-383(ภาษาไทย)
- เรื่อง “หลักความขัดแย้งกันในบทบาทหน้าที่” ใน ยืนหยัดบนหลักนิติธรรม คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิมพ์ในโอกาส 72 ปี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร 7 พฤษภาคม 2552,หน้า 184-213
- เรื่อง “การตรวจสอบถ่วงดุลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา” ในวารสารบทบัณฑิตย์ เล่ม 64 ตอน 3 (ก.ย.2551),หน้า 12-59
- เรื่อง “ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล:ศึกษาเพื่อหาข้อเสนอทางนิติวิธีสำหรับประเทศไทยโดยเปรียบเทียบกับกฎหมายอังกฤษและฝรั่งเศส” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2552,หน้า 71-105 และ ใน วารสารวิชาการ รพี’52 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว,หน้า 85-115
- เรื่อง “ความโปร่งใส และการตรวจสอบกระบวนยุติธรรมทางอาญาตามแนวทางในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540” ในวารสารบทบัณฑิตย์ เล่ม 54 ตอน 4 (ธ.ค.2541),หน้า 56-80
- บทความเรื่อง “การดักฟังทางโทรศัพท์” ในรพีสาร ปีที่ 4 ฉบับที่ 14 (ม.ค.-มี.ค. 2539) ,หน้า 34-48
- เรื่อง “กระบวนยุติธรรมทางอาญาในประเทศไทย:ปัญหาและข้อเสนอแนะบางประการ” ในวารสารดุลพาห ปีที่ 43 เล่มที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค.2539),หน้า 3-12
- เรื่อง “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิของจำเลยตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย” ในหนังสือ รวมบทความทางวิชาการเพื่อเป็นอนุสรณ์แต่ ศาสตราจารย์ ไพโรจน์ ชัยนาม จัดพิมพ์โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2538
- เรื่อง “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับคำพิพากษาฎีกาที่ 3446/2537 เรื่องความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2538,หน้า 260-272
- บทความแนะนำหนังสือ “กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของ ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2538
- เรื่อง “ความรับผิดทางอาญของนิติบุคคล : การศึกษาทางกฎหมายเปรียบเทียบทางนิติวิธีในประเทศซีวิลลอว์ และคอมมอนลอว์” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2538,หน้า 684-707
- บทความแนะนำหนังสือ “ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง ของรองศาสตราจารย์ ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 กันยายน 2537
- บทความแนะนำหนังสือ “กฎหมายอาญา ภาค 1 ของ ศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2537
- เรื่อง “หลักความชอบด้วยกฎหมายในกฎหมายอาญา” (PRINCIPLE DE LA LEGALITE CRIMINELLE) ในรวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 84 ปี ศาสตราจารย์ จิตติ ติงศภัทิย์ จัดพิมพ์โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2536
- เรื่อง “ความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคล” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กันยายน 2536 และ ในวารสารอัยการ ปีที่ 19 ฉบับที่ 221, ก.ค. 2539, หน้า 35-57
- เรื่อง “ตุลาการรัฐธรรมนูญฝรั่งเศสกับการควบคุมกฎหมายอาญามิให้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ” ในรวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปี ศาสตราจารย์ ไพโรจน์ ชัยนาม จัดพิมพ์โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2535
- บทความเรื่อง “ข้อถกเถียงทางวิชาการเกี่ยวกับเหตุยกเว้นโทษ” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มีนาคม 2534
- เรื่อง “ความยินยอมในการปลูกถ่ายอวัยวะ:ปัญหาทางกฎหมายและทางแก้ไข” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 ธันวาคม 2534
- เรื่อง “กฎหมายอาญาที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน 2533
- เรื่อง “การพยายามกระทำความผิดที่เป็นไปไม่ได้แน่แท้ตามกฎหมายฝรั่งเศส” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2532 หน้า 50 – 58
- เรื่อง “บันทึกของนายยอร์ช ปาดูซ์ (G.PADOUX) เกี่ยวกับการร่างกฎหมายลักษณะอาญา รศ. 127” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2531 หน้า 1– 38
- เรื่อง “การกระทำโดยจำเป็น : เหตุที่ผู้กระทำมีอำนาจกระทำได้ตามกฎหมายฝรั่งเศส” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับ 3 พ.ศ. 2530 หน้า 143– 153
- เรื่อง “ฎีกาวิเคราะห์ : สิทธิดูแลครอบงำการจัดการของหุ้นส่วนจำกัดความรับผิด” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2527
- เรื่อง “ฎีกาวิเคราะห์ : คดีสำหรับนักเล่นหุ้น” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2526
- เรื่อง “ฎีกาวิเคราะห์ : ชาย (หญิง) แมงดา” ในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2526
รางวัล
- เข็มสำนักงานศาลยุติธรรมสำหรับผู้ทำคุณประโยชน์ ประจำปี 2557
- รางวัลผลงานวิจัย สภาวิจัยแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2560
- เข็มเครื่องหมายยุติธรรมธำรงแก่ผู้ทำคุณประโยชน์ให้กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2561
- รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขานิติศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
- รางวัลกีรตยาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สาขาสังคมศาสตร์ ประจำปี 2564