ธนภัทร ชาตินักรบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ธนภัทร ชาตินักรบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ข้อมูลส่วนตัว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทร ชาตินักรบ เป็นผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวยการโครงการนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ท่าพระจันทร์ และอาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศและศูนย์กฎหมายแพ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำเร็จการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต และนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LLM) สาขากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง จากมหาวิทยาลัยลอนดอน (ควีนแมรี่) สหราชอาณาจักร และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (PhD) สาขากฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร ผลงานวิชาการที่ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนภัทรตีพิมพ์ประกอบด้วยบทความต่าง ๆ ทางด้านกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะหัวข้อเกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญา และกฎหมายระหว่างประเทศและดิจิทัลเทคโนโลยี
การศึกษา
- น.บ. ธรรมศาสตร์
- น.ม. (กฎหมายระหว่างประเทศ) ธรรมศาสตร์
- LLM in Public International Law (merit), University of London (Queen Mary) สหราชอาณาจักร
- PhD in International Law, University of Manchester สหราชอาณาจักร
หัวข้อ
วิทยานิพนธ์
- The Use of Practice in Treaty Interpretation (PhD Manchester)
- The Jurisdiction and Admissibility of the ICJ’s Request for Interpretation Judgments: Do We Need Reform? (LLM Queen Mary)
- การตีความสนธิสัญญาแบบวิวัฒนาการ: กรณีศึกษาคำชี้ขาดขององค์กรระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลกและคณะอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ (นิติศาสตรมหาบัณฑิต ธรรมศาสตร์)
ประสบการณ์
การทำงาน
- ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กรกฎาคม 2567-ปัจจุบัน)
- อนุกรรมการ คณะอนุกรรมการศึกษาทบทวนและปรับปรุงประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 และบรรพ 6 ในคณะกรรมการศึกษาทบทวนและปรับปรุงกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี แห่งการบังคับใช้ประมวลกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม (กรกฎาคม 2567-ปัจจุบัน)
- ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยการสู้รบในประเทศเมียนมา ในคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ สภาผู้แทนราษฎร (2567)
- ที่ปรึกษาอนุกรรมาธิการ คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบยั่งยืนต่อการโยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติ ในคณะกรรมาธิการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน สภาผู้แทนราษฎร (2566-2567)
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขากฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มีนาคม 2566-ปัจจุบัน)
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ และผู้อำนวยการโครงการนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ท่าพระจันทร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (กรกฎาคม 2565-ปัจจุบัน)
- อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ธันวาคม 2564-ปัจจุบัน)
- Max Planck Institute for Comparative Public Law and International Law, Heidelberg, Germany, Research Assistant (Intern), Summer 2018
- นักวิจัยกฎหมายระหว่างประเทศ กองพัฒนางานกฎหมายระหว่างประเทศ กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ (ตุลาคม 2559-พฤษภาคม 2560)
- นักวิจัยกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (กรกฎาคม 2558-กันยายน 2559)
- ผู้ช่วยกรรมการปฏิรูปกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (พฤศจิกายน 2557-มิถุนายน 2558)
สาขาที่สนใจ
- กฎหมายระหว่างประเทศ
- กฎหมายสนธิสัญญา
- การใช้การตีความกฎหมาย
- กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
- กฎหมายสหภาพยุโรป
- กฎหมายอาเซียน
- กฎหมายเปรียบเทียบ
- กฎหมายครอบครัว-มรดก
หลักสูตร
ที่สอน
ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรภาษาไทย)
- กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง 1 (2564-ปัจจุบัน)
- กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง 2 (2565-ปัจจุบัน)
- กฎหมายองค์การระหว่างประเทศ (2565-ปัจจุบัน)
- กฎหมายสหภาพยุโรป (2565-ปัจจุบัน)
- กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ (2565-ปัจจุบัน)
- กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ (2567-ปัจจุบัน);
- ภาษาอังกฤษทางกฎหมาย (2565-ปัจจุบัน)
- กฎหมายกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (2565-ปัจจุบัน)
- การศึกษาค้นคว้าทางกฎหมายด้วยตนเอง (2565-ปัจจุบัน)
- การเขียนในเชิงกฎหมาย (2566-ปัจจุบัน)
- การเขียนในเชิงกฎหมาย 1 (2565-ปัจจุบัน)
- การเขียนในเชิงกฎหมาย 2 (2564-2566)
- กฎหมายลักษณะมรดก (2564-ปัจจุบัน)
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย (2567-ปัจจุบัน)
- กฎหมายแพ่งเปรียบเทียบ (2567-ปัจจุบัน)
ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรนานาชาติ)
- public international law (2565-ปัจจุบัน)
- international community and international law (2564)
- moot court (2564)
- current legal issues (2564)
- family law (2566-ปัจจุบัน)
- law of succession (2564-ปัจจุบัน)
ระดับปริญญาโท (หลักสูตรภาษาไทย)
- กฎหมายระหว่างประเทศชั้นสูง (2565-ปัจจุบัน)
- กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (2566-ปัจจุบัน)
- กฎหมายองค์การระหว่างประเทศ (2565)
- ปัญหากฎหมายสนธิสัญญา (2565-ปัจจุบัน)
- ปัญหากฎหมายระหว่างประเทศ (2564-ปัจจุบัน)
- ปัญกฎหมายสหภาพยุโรป (2566-ปัจจุบัน)
- สัมมนากฎหมายระหว่างประเทศ (2564-ปัจจุบัน)
- ทฤษฎีกฎหมายเอกชน (2566-ปัจจุบัน)
- กฎหมายเอกชนเปรียบเทียบ (2567-ปัจจุบัน)
- กฎหมายครอบครัวและมรดกชั้นสูง (2566-ปัจจุบัน)
- สัมมนากฎหมายเอกชน (2565-ปัจจุบัน)
ระดับปริญญาโท (หลักสูตรนานาชาติ)
- international economic law (2566-ปัจจุบัน)
- business and human rights (2567-ปัจจุบัน)
ระดับปริญญาเอก
- ระเบียบวิธีวิจัยทางนิติศาสตร์ (2565-ปัจจุบัน)
ผลงานทาง
วิชาการ
งานวิจัย
- ธนภัทร ชาตินักรบ, โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำรายงานศึกษาความเป็นไปได้และรูปแบบ (model) ที่เหมาะสมในการจัดตั้งกลไกศูนย์ติดต่อประสานงานแห่งชาติ (National Contact Point: NCP) ของประเทศไทย (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม) (กันยายน 2566). 264 หน้า
- Thanapat Chatinakrob, The application of international law to cyberspace: the dilemma of state sovereignty violation, extraterritorial effects and cyberspace sovereignty (2023), 129
- ________, Information operations and state responsibility: case studies of the claim of Myanmar’s (alleged) genocide intent towards the Rohingyas and military-linked influencing operations in Thailand (2022), 112 (ได้รับรางวัลผลงานวิจัยระดับดี สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567)
วิทยานิพนธ์
- The Use of Practice in Treaty Interpretation, PhD Thesis, University of Manchester, 2021
- The Jurisdiction and Admissibility of the ICJ’s Request for Interpretation Judgments: Do We Need Reform?, LLM Dissertation, University of London (Queen Mary), 2018
- การตีความสนธิสัญญาแบบวิวัฒนาการ: กรณีศึกษาคำชี้ขาดขององค์กรระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลกและคณะอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ, วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557
หนังสือ
- ธนภัทร ชาตินักรบ, หลักกฎหมายลักษณะมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2566) 378 หน้า.
บทในหนังสือ
- Thanapat Chatinakrob, Unravelling Treaty Interpretation: A Comprehensive Analysis of Judicial Practice and Interpretation in the Thai Legal Landscape, in Bimal N Patel (ed), Asian and African Treaty Law and Practice: Implications for Foreign Policy (ILC 2024), forthcoming 2024.
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการใช้กำลังและการใช้อาวุธของเจ้าพนักงานผู้บังคับใช้กฎหมาย’ ใน ศูนย์บริหารงานสอบสวน สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, แนวทางปฏิบัติงานว่าด้วยกฎการใช้กำลังและอาวุธ (โรงพิมพ์ตำรวจ, พิมพ์ครั้งที่ 1) หน้า 18-93 (2565).
- Thanapat Chatinakrob, Happiness-sharing Pantries: an effective weapon to ease hunger for the needy during the pandemic in Thailand in Southeast Asia and COVID-19 in Hyun Bang Shin, Murray Mckenzie and Do Young Oh (eds), Southeast Asia: Insights for a post-pandemic world (LSE Press), 249-256 (2022).
บทความ
- Thanapat Chatinakrob, ‘Legal Risks and Challenges of Unregulated AI: An Analysis of International Legal Frameworks for Mitigating Risks and Ensuring Ethical and Legal Compliance in the Development and Deployment of AI’, Chinese (Taiwan) Yearbook of International Law and Affairs, forthcoming 2024.
- ________, ‘Interplay of International Law and Cyberspace: State Sovereignty Violation, Extraterritorial Effects, and the Paradigm of Cyber Sovereignty’, 23 (1) Chinese Journal of International Law, 25-72 (2024).
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘เพราะไทยไม่ใช่แค่ไทย: บทต่อไปของประชาธิปไตยและอาเซียนในยุคโลกาภิวัฒน์’ หนังสือรพีวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2023, 72-81 (2567).
- ________, ‘การจับตัวประกันกับประเด็นสำคัญในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ’, TU LAW E-Newsletter, ฉบับที่ 10, 1-7 (ตุลาคม 2566).
- ________, ‘ปฐมบทว่าด้วยอายุความ (ที่ไม่มีวันสิ้นสุด) ในคดีตีความคำพิพากษาศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคดีตีความปราสาทพระวิหาร’ หนังสืองานพระราชทานเพลิงรองศาสตราจารย์ นพนิธิ สุริยะ, 160-166 (โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2565).
- Thanapat Chatinakrob, ‘Rethinking the scope of international law regulating information operations: lessons learned from a crime of online genocide in Myanmar’ 11 (2) Cambridge International Law Journal, 243-267 (2022).
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘ประสบการณ์ฝึกงานสถาบันวิจัยมักซ์พลังค์เพื่อกฎหมายมหาชนเปรียบเทียบและกฎหมายระหว่างประเทศ ณ เมืองไฮเดลแบร์ก ประเทศเยอรมนี’ อาจาริยบูชา ศาสตราจารย์ ดร.จตุรนต์ ถิระวัฒน์, 391-421 (โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565).
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘ปัญหาการตีความอย่างเป็นเอกภาพ (Uniform Interpretation) ของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (CISG)’ หนังสือมุทิตาจิตเนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี ศาสตราจารย์ ดร.กำชัย จงจักรพันธ์, 191-202 (โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2564).
- ________, ‘การปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์โดย Facebook: ศึกษากรณีความเป็นไปได้ที่ Facebook จะฟ้องรัฐบาลไทย และกรณีผู้ใช้บริการที่ได้รับผลกระทบจะฟ้อง Facebook’ วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3, 351-387 (2564).
- Thanapat Chatinakrob, ‘Happiness-sharing Pantries: an effective weapon to ease hunger for the needy during the pandemic in Thailand’ LSE Southeast Asia Blog (LSE Saw Swee Hock Southeast Asia Centre) (2020), available at https://blogs.lse.ac.uk/seac/2020/09/16/happiness-sharing-pantries/.
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘การตีความสนธิสัญญา’ 60 ปี รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร (โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2563) หน้า 378-405.
- Thanapat Chatinakrob, ‘Possible Reforms of ISDS: Some Considerations on the ICS in CETA’ Cambridge International Law Journal (2019), available at http://cilj.co.uk/2019/01/29/possible-reforms-of-isds-some-considerations-on-the-ics-in-ceta/.
- ________, ‘Material Breach and Its Exception: An Analysis of ‘A Humanitarian Character’’ Institute of Advanced Legal Studies (IALS) Student Law Review 5(2), 43-54 (2018).
- ________, ‘Illegal Trade of Elephant Ivory and Implementation of CITES by Thailand’ Mae Fah Luang University Rapee Law Journal 61, 131-156 (2018).
- ________, ‘The Significance of Subsequent Agreements and Practice of the 1969 Vienna Convention on the Law of Treaties in the Development of International Law’: The Analysis of the Notable Navigational and Related Rights and Whaling decisions’ Journal of Law, Policy and Globalization 74, 26-36 (2018).
- ________, ‘From Stockholm to Rio: The Contribution of Soft Law to the Deployment of International Environmental Law’ Journal of Legal Studies & Research 4(3), 538-559 (2018).
- ________, ‘Justifying Jurisprudence Constante as Interpretative Instrument of Investment Treaty Arbitration’ Journal of Legal Studies & Research 4(2), 188-198 (2018).
- ________, ‘Conceptual and Strategic Framework for the Development of Rule of Law Index/Indicators’ TDRI Quarterly Review 31(3), 14-18 (2016).
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการศาลไทย ด้วย e-Court’ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (กรุงเทพ, 19 พฤศจิกายน 2558) 10.
- ________, ‘การตีความสนธิสัญญาแบบวิวัฒนาการ: กรณีศึกษาคำชี้ขาดขององค์กรระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลกและคณะอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ’ วารสารบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 308-320.
- Thanapat Chatinakrob, ‘Is there an Effective Dispute Settlement Mechanism in the ASEAN?’ (2015) 2015 ECHO Magazine 42.
บทวิจารณ์หนังสือ
-
- Book Review ‘Book Review: Rights Refused: Grassroots Activism and State Violence in Myanmar by Elliott Prasse-Freeman’. In: LSE Southeast Asia Blog (LSE Saw Swee Hock Southeast Asia Centre) (2023), available at https://blogs.lse.ac.uk/seac/2023/10/23/book-review-rights-refused-grassroots-activism-and-state-violence-in-myanmar-by-elliott-prasse-freeman/.
Book Review ‘Citizen Designs: City-making and Democracy in Northeastern Thailand by Eli Elinoff’. In: LSE Southeast Asia Blog (LSE Saw Swee Hock Southeast Asia Centre) (2023), available at https://blogs.lse.ac.uk/seac/2023/05/25/book-review-citizen-designs-city-making-and-democracy-in-northeastern-thailand-by-eli-elinoff/
- Book Review ‘Treaty Interpretation by Richard Gardiner, second edition’. Thailand Journal of International Law 2, 79-81 (2017-2018).
การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
- 21 สิงหาคม 2567: วิทยากร หัวข้อ “เทคนิคการเขียนบทความเพื่อตีพิมพ์ฐานข้อมูลนานาชาติ” ห้องประชุมคณะนิติศาสตร์ ชั้น 4 อาคารราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม ประเทศไทย
- 30 กรกฎาคม 2567: ผู้ร่วมเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ “ทิศทางไทยในจอเรดาร์โลก: IPEF, OECD และ BRICS” จัดโดยกระทรวงการต่างประเทศ (งานวันที่ 30 กรกฎาคม 2567) ณ โรงแรมอีสติน แกรนด์ พญาโท, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 21 มิถุนายน 2567: วิทยากรงานเสวนา หัวข้อ “การส่งเสริม คุ้มครอง และรับมือกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการประกอบธุรกิจข้ามพรมแดน” ในงานสัมมนา หัวข้อ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน: ทิศทางประเทศไทยกับกลไกการดูแลการลงทุนระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติ” ภายใต้งานสัปดาห์ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ประจำปี 2567 จัดโดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ณ โรงแรมเบสท์เวสเทิร์น พลัส แวนดา แกรนด์, นนทบุรี ประเทศไทย.
- 15 พฤษภาคม 2567: วิทยากรเวทีสาธารณะ เรื่อง “การคุ้มครองแรงงานประมงในห่วงโซ่อุปทานและ
การปรับปรุงพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558) จัดโดยมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต, กรุงเทพ ประเทศไทย. - 28–29 กุมภาพันธ์ 2567: นำเสนอบทในหนังสือเรื่อง “Unravelling Treaty Interpretation: A Comprehensive Analysis of Judicial Practice and Interpretation in the Thai Legal Landscape” ในการประชุม 2024 Conference on Asian and African Treaty Law and Practice: Implications for Foreign Policy, Rashtriya Raksha University, อินเดีย.
- 2 กุมภาพันธ์ 2567: อภิปรายหัวข้อเรื่อง “Thailand’s Road to the UN Human Rights Council: Yay or Nay?” ณ The Foreign Correspondents’ Club of Thailand (FCCT), กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 3-4 ธันวาคม 2566: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Legal Risks and Challenges of Unregulated AI: An Analysis of International Legal Frameworks for Mitigating Risks and Ensuring Ethical and Legal Compliance in the Development and Deployment of AI” ในการประชุม 2023 ILA-ASIL Asia-Pacific Research Forum, ไต้หวัน.
- 30 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม 2566: แลกเปลี่ยนความเห็นในงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การเข้าถึงความยุติธรรมเมื่อเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบรรษัทข้ามพรมแดน” จัดโดยคณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล (International Commission of Jurists หรือ ICJ) ณ โรงแรมคาวาลิ คาซ่า รีสอร์ท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
- 8 พฤศจิกายน 2566: วิทยากร หัวข้อ “Rights and Returns: The Intersection of Human Rights and Investment Arbitration” ภายใต้ธีม “The Interaction between Human Rights and Investment Arbitration” ในงาน Thailand ADR Week 2023 จัดโดย Thailand Arbitration Center, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 22 กันยายน 2566: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “ความเป็นไปได้และรูปแบบ (model) ที่เหมาะสม
ในการจัดตั้งกลไกศูนย์ติดต่อประสานงานแห่งชาติ (National Contact Point: NCP) ของประเทศไทย”
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, กรุงเทพ ประเทศไทย. - 21-22 มิถุนายน 2566: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “UNGA and UNSC Mechanisms for ICJ Oversight: Balancing Independence and Accountability in the Face of Legal Limitations” ในการประชุมหัวข้อ “Who Judges the Judges? Oversight Mechanisms in International Dispute Resolution”, ศูนย์ PluriCourts Centre for the Study of the Legitimate Roles of the Judiciary in the Global Order, University of Oslo and Bonavero Institute of Human Rights, มหาวิทยาลัยออกฟอร์ด, ออกฟอร์ด สหราชอาณาจักร.
- 10 กุมภาพันธ์ 2566: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Application of International Law to Cyberspace: the Dilemma of State Sovereignty Violation, Extraterritorial Effects and Cyberspace Sovereignty” ในการประชุม Digital in Law: International Scientific Conference on International, EU and Comparative Law Issues ‘Law in the Age of Modern Technologies, มหาวิทยาลัย Università degli Studi di Milano, มิลาน อิตาลี.
- 13 มกราคม 2566: บรรยายและแลกเปลี่ยนความเห็นในหัวข้อ “United Nations General Assembly
Sixth Committee (Legal): Establishing Protocols for International Crime; Revisiting Criminal Jurisdiction of the Rome Statute” ในการประชุม TU Model United Nations Conference ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (UNESCAP), กรุงเทพ ประเทศไทย. - 6 กันยายน 2565: แลกเปลี่ยนความเห็นในประเด็นเรื่อง “ICC and Accountability for War Crimes” ในฐานะ keynote speaker ในงาน Accountability for Ukraine event ณ สถานเอกอัครราชทูตเนเธอร์แลนด์ประจำประเทศไทย, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 21 มิถุนายน 2565: นำเสนอร่างคู่มือแนวทางปฏิบัติงานว่าด้วยกฎการใช้กำลังอาวุธ หัวข้อ “การใช้กำลังและอาวุธ” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยกรอบกฎหมายกำกับการใช้กำลังและอาวุธของเจ้าพนักงานบังคับใช้กฎหมาย: ตอบโจทย์ความท้าทายบริบทของกฎหมายภายในและมาตรฐานสากลเพื่อให้ความคุ้มครองและการช่วยเหลือ, จัดโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติและคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 28-29 พฤษภาคม 2665: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “State Responsibility for Information Operations: a Case Study of Myanmar’s Crime of Online Rohingya Genocide” ในการประชุมประจำปีครั้งที่ 19 ของสถาบันกฎหมายเอเชีย, จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัยกฎหมายและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว, โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.
- 26-27 มีนาคม 2665: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Rethinking the Scope of International Law regulating Information Operations: Lessons Learned from a Crime of Online Genocide in Myanmar” ในการประชุมประจำปีครั้งที่ 11 ของวารสารกฎหมายระหว่างประเทศมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, เคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร.
- 7 กุมภาพันธ์ 2565: บรรยายเรื่อง “State Responsibility under International Law during a Pandemic” ในการบรรยายพิเศษภาษาอังกฤษ (TU Law Special Lecture Series 2022), คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 14-18 มิถุนายน 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “A Haunted Judgment without a Dead End?: A Lesson Learned from the ICJ Preah Vihear Request for Interpretation Judgment” ในการประชุมสัปดาห์ปริญญาเอก (Intensive Doctoral Week) การประชุมครั้งที่ 10 (ออนไลน์), Sciences Po Law School, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส.
- 20-21 พฤษภาคม 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Use of Practice of International Investment Law in Treaty Interpretation” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการของนักศึกษาระดับปริญญาเอก การประชุมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยนิวเซาธ์เวลส์ แคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย.
- 12 พฤษภาคม 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Use of Practice in Treaty Interpretation” ในการประชุมวิชาการของนักศึกษาภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร.
- 26 กุมภาพันธ์ 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Has ASEAN Prepared Enough for Treaty Interpretation?: Some Perspectives on the Dispute Settlement under RCEP and Other ASEAN Economic Agreements” ในการประชุมวิชาการของสถาบันกฎหมายเอเชีย มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์.
- 27 ตุลาคม 2563: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “ASEAS UK-SEAC Panels on Southeast Asia Research” ในการประชุมวิชาการประจำปีของวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน.
- 13-14 กรกฎาคม 2563: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Expanding the Horizon of Legal Hermeneutics: Does There Exist a ‘True Meaning’ in Treaty Interpretation?” ในการประชุมระหว่างประเทศด้านกฎหมายครั้งที่ 17 เอเธนส์ ประเทศกรีซ.
- 17 มีนาคม 2563: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Expanding the Horizon of Legal Hermeneutics: Does There Exist a ‘True Meaning’ in Treaty Interpretation?” ในการประชุมวิชาการของนักศึกษาภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร.
- 14 กรกฎาคม 2562: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Looking Back while Moving Forward: the (Almost) Hundred Years Development of the Theory of Legal Argumentation by the ICJ and its Predecessor” ในการประชุมครบรอบ 10 ปีของสมาคมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งเอเชีย (ญี่ปุ่น) มหาวิทยาลัย Meiji Gakuin University โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.
- 9 กุมภาพันธ์ 2562: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Applying the Theory of Legal Argumentation as a Legitimate Reasoning for Treaty Interpretation in the ICJ Proceedings” ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย Trinity College Dublin ประเทศไอร์แลนด์.
- 13 ตุลาคม 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Asians in the World Court: Same Problems, New Solutions and Further Reforms? A Lesson Learned from the Preah Vihear Interpretation Judgment” ในการประชุมภูมิภาคของสมาคมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งเอเชีย ปักกิ่ง ประเทศจีน.
- 5 มิถุนายน 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Effect of CJEU’s Achmea Judgment” ในการประชุมของ European Federation for Investment Law and Arbitration (EFILA) บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม.
- 8 มีนาคม 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Statelessness and rights among the Rohingya in Thailand” ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยลอนดอน (ควีนแมรี่) ลอนดอน สหราชอาณาจักร.
- 12 มกราคม 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Significance of Subsequent Agreements and Practice of the VCLT in the Development of International Law” ในการประชุมประจำปีของสมาคมนักวิชาการกฎหมายระหว่างประเทศรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัย American University Washington College of Law วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา.
- 11 กุมภาพันธ์ 2559: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “การใช้หลักนิติธรรมในฐานะเครื่องมือประเมินสถานการณ์ทางการเมือง: กรณีศึกษาโครงการนิติธรรมโลก” สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรุงเทพ ประเทศไทย.
สัมภาษณ์รายการวิทยุ/โทรทัศน์/โซเชียลมีเดีย
- 21 สิงหาคม 2567: “Posts falsely claim top UN court ‘took up’ Thai opposition party’s appeal against its dissolution”, ในสกู๊ปข่าว APF Fact Check กับสำนักข่าว Agence France-Presse (AFP).
- 21 พฤษภาคม 2567: “กำแพงหรือประตูปิดตาย ก่อนไทยจะไปถึงเป้าหมาย ‘เจ้าสมุทร’ ความเสี่ยงใบเหลืองค้ามนุษย์ ในเกลียวคลื่น(ร่าง)แก้ไขกฎหมายประมง”, ในสกู๊ปข่าว Crack Politics (Decode สำนักเครือข่ายสื่อสาธารณะ องค์การกระจายเสียงและเผยแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ThaiPBS)).
- 17 ธันวาคม 2564: “ประเมินศึกใน – ศึกนอก กองทัพเมียนมา”, รายการทันโลกกับที่นี่ThaiPBS (ช่อง
ไทยพีบีเอส). - 17 ธันวาคม 2564: “เมื่อศาลอาร์เจนตินาเปิดการสอบสวนคดีก่ออาชญากรรมต่อชาวโรฮิงญา”, รายการข่าวค่ำมิติใหม่ (ช่องไทยพีบีเอส).
- 27 สิงหาคม 2564: “ซ้อม-อุ้ม-ฆ่า: เมื่อผู้รักษากฎหมาย…กลายเป็นผู้ร้ายเสียเอง?”, Clubhouse Nitihub.
- 6 สิงหาคม 2564: “เมื่อการวิจารณ์เป็นเรื่องต้องห้าม การสรรเสริญจึงเป็นเรื่องโกหก”, เสวนานิติศึกษา
(ผู้วิพากษ์). - 3 มีนาคม 2564: “ม็อบปลอดภัย?!: เมื่อการชุมนุมโดยสงบไม่ได้รับการคุ้มครอง (ตอนที่ 2)”, Clubhouse Nitihub.
- 26 ตุลาคม 2563: “สนธิสัญญาห้ามใช้อาวุธนิวเคลียร์: กุญแจสู่สันติภาพ?”, รายการจับตาสถานการณ์
(ช่องไทยพีบีเอส). - 8 มิถุนายน 2563: “อนุสัญญาอุ้มหาย: กลไกลแก้ปัญหาอุ้มหาย”, รายการจับตาสถานการณ์ (ช่องไทยพีบีเอส).
- 8 กุมภาพันธ์ 2559: “การคอร์รัปชันของตำรวจจราจร”, สถานีวิทยุองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (MCOT) (ช่อง FM 96.5 KHz).
รางวัล
- รางวัลผลงานวิจัยระดับดี สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567
- School of Social Sciences, Postgraduate Research Award, University of Manchester, UK, 2021
- PhD School of Law Scholarship (PhD School of Social Sciences Scholarship), University of Manchester, UK, 2018-2021
- Scholarship, ASEAN Law Academy Advanced Programme (Educator Programme), Centre for International Law, National University of Singapore, Singapore, 2021
- วิทยานิพนธ์ดีเด่น สาขากฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557
- ประกาศนียบัตรสอบเข้าคะแนนสูงสุด หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556