ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล
อาจารย์
ฐิติรัตน์ ทิพย์สัมฤทธิ์กุล
อาจารย์
การศึกษา
มิ.ย. 2563
- หลักสูตร Logic and Opinion Writing, National Judicial College, Las Vegas ตามคำเชิญของสถานทูตอเมริกา
ม.ค.-มี.ค. 2563
- หลักสูตร Stanford Innovative Teaching Scholars Program
ธ.ค. 2563-ส.ค. 2564
- หลักสูตร Rule of Law and Development Program (RoLD 2020) และ TIJ & IGLP Harvard Law School Workshop จัดโดย สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ)
ก.ค. 2560
- หลักสูตร Regional Workshop On Teaching Of IHL ตามคำเชิญของ ICRC Thailand
ก.ค. 2559
- หลักสูตร Seoul Academy of International Law ตามคำเชิญของกระทรวงการต่างประเทศ ประเทศเกาหลีใต้
ก.ค. 2556
- หลักสูตรภาคฤดูร้อน The Hague Academy of International Law (Public International Law, General Course สอนโดย Prof. James Crawford)
2556
- ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต
LL.M. (in Law, Development and Governance)
School of Oriental and African Studies (SOAS)
(University of London), UK - ปริญญาโท นิติศาสตรมหาบัณฑิต
LL.M. (in International Law program)
Graduate School of International Cooperations Studies (GSICS), Kobe
University, Japan *หลักสูตรDouble Degree Program ร่วมกับ SOAS
2555
- ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต LL.B, Kyoto University, Japan
2553
- เข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยน ณ Faculty of Law, University of Strasbourg, France
2551
- Tokyo Gakugei University Senior High School, Japan
2548
- หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น Asia Bunka Kyokai, Japan
2546-2557
- นักเรียนทุนรัฐบาล กพ.
ประสบการณ์
การทำงาน
ตำแหน่งปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ 1 ก.ค. 2557)
- ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษากฎหมายญี่ปุ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ 2562)
- อนุกรรมการบูรณาการแนวทางในการบังคับใช้กฎหมายความผิดทางเทคโนโลยีโทรคมนาและความมั่นคงของรัฐ กสทช. (ตั้งแต่ เมษายน 2566)
- อนุกรรมการจัดทำร่างกฎหมายว่าด้วยเศรษฐกิจแพลทฟอร์ม สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (ตั้งแต่ กุมภาพันธ์ 2567)
- กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางในการควบคุมและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต (ตั้งแต่ มกราคม 2567)
- ที่ปรึกษาแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย (ตั้งแต่สิงหาคม 2566)
- ที่ปรึกษาคณะทำงานเทคนิคด้านมาตรฐานการบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐ DGA (ตั้งแต่ 2566)
- ผู้เชี่ยวชาญ OECD Expert Community Data Free Flow with Trust (DFFT) (ตั้งแต่ เมษายน 2567)
- Fellow at Keio Global Research Insitute (KRGI), Keio University (ตั้งแต่ 2021)
ตำแหน่งในอดีต
- คณะทำงานเทคนิคด้านมาตรฐานการบริหารจัดการข้อมูลภาครัฐ DGA (2564-2565)
- คณะทำงานภายใต้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลบริการระบบสุขภาพปฐมภูมิ (2563-2565)
- ประธานกรรมการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย (2563 – 2566)
- กรรมการผู้เชี่ยวชาญในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (ได้รับการสรรหา 2563, ถอนตัว 2564)
- นักวิชาการอาคันตุกะภายใต้โครงการเครือข่ายคณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยแห่งชาติ (National Law Schools Network) ณ คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย (ANU College of Law) เพื่กศึกษาวิจัยด้านกฎหมายดิจิทัล (ธันวาคม 2562 – มกราคม 2563)
- คณะกรรมการศูนย์ญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2562-2563)
- ผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาแก่กรรมาธิการร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (2562)
- คณะอนุกรรมการฝ่ายสิทธิเสรีภาพและการปฏิรูปสื่อ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย (2561-2564) 2021)
- กองบรรณาธิการวารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2559, 2560)
- ผู้ช่วยผู้อำนวยการโครงการออกแบบระบบและพัฒนากลไกดำเนินการและติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2558
- คณะทำงานจัดทำวารสารวิชาการ Thailand Journal of International Law (TJIL) ร่วมกับสมาคมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งประเทศไทย (ILAT)
- ผู้จัดการแข่งขัน Thailand IHL Moot Court และ IHL Role Play (2016-2021)
- ที่ปรึกษาด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลให้ Total Access Communication PLC (2560)
สาขา
ที่สนใจ
- International Law
- Human Rights
- Digital Law, Law and Technology
หลักสูตร
ที่สอน
วิชาที่สอน
- กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
- สิทธิมนุษยชน
- กฎหมายสื่อสารมวลชน
- ทักษะวิธีวิทยาของกฎหมายไทย
- การเขียนเชิงกฎหมาย
- Public International Law
- Law and Technology
- Business for Lawyer in Sustainable Future
- Skills in Legal Language,
- Introduction to Japanese Legal System
- Moot Court
- ADR (negotiation part)
- Civic Engagement
- Mass Communication Law and Ethics (BJM)
- International Community and International Law (China-ASEAN Program)
- International Law and Regional Architecture in the Asia-Pacific Region (MAPS)
- Laws and Regulation in Design Practice (DBTM)
ผลงาน
ทางวิชาการ
งานวิจัย
2566
- โครงการวิจัยเรื่อง “Self-information Control and the Use of Artificial Intelligence” สนับสนุนโดย by Japan Science and Technology Agency
2565
- โครงการจัดทำระเบียบ มาตรการ และ มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
2564
- โครงการศึกษาและเตรียมการเพื่อจัดทำร่างกฎหมายลำดับรองภายใต้ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
2563
- โครงการวิจัยเรื่อง Thai International Digital Vaccine Certificate : Requirements & Feasibility
Assessment for A Pilot Project at The Thai DDC สนับสนุนโดย BRITISH FOREIGN, COMMONWEALTH & DEVELOPMENT OFFICE - โครงการวิจัยเรื่องอินเทอร์เน็ตศึกษา (ในส่วน “ความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล: วรรณกรรมปริทัศน์”) ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
2560
- โครงการวิจัยเรื่อง “จัดทำข้อเสนอแนะแนวทางการอภิบาลอินเทอร์เน็ตของระเทศไทย” โดย หน่วยปฏิบัติการวิจัยนโยบายสื่อ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.)
- โครงการวิจัยเรื่อง “หลักสูตรเตรียมความพร้อมสู่ระบบดิจิทัลสำหรับ Thailand 4.0: เทคโนโลยีความมั่นคงปลอดภัย และกฎหมาย” โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอต่อ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.)
2559
- โครงการวิจัยเรื่อง “หลักสูตรการฝึกอบรมกรอบแนวคิดพื้นฐานและแนวปฏิบัติระหว่างประเทศเกี่ยวกับกิจการสื่อสารและแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม” โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เสนอต่อ กสทช.
2557
- โครงการวิจัยเรื่อง “ระบบการเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญาของประเทศญี่ปุ่น” โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอต่อ กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
- โครงการวิจัยเรื่อง “มิติด้านสิ่งแวดล้อมในความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (TPP) และความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศไทยกับสหภาพยุโรป” ร่วมกับศูนย์บริการวิชาการเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เสนอต่ สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา
- โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการพัฒนามาตรการในการดำเนินการ การพิจารณาความเหมาะสม และความเป็นไปได้เพื่อจัดทำแนวทาง ขั้นตอนและวิธีการในการเข้าร่วมหรือทำความตกลงตามกรอบว่าด้วยการ
คุ้มครองความเป็นส่วนตัวของ APEC” ร่วมกับสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TURAC) เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
บทความและหนังสือ
- (คณะผู้จัดทำและบรรณาธิการ) ‘ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล: คู่มือสำหรับนักกฎหมายในยุคดิจิทัล (Data Privacy Playbook: A Lawyer’s Guide in the Digital Age)’ สนับสนุนโดยสมาคมนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA) และสภาทนายความอเมริกัน (ABA) ปีที่พิมพ์ 2567
- Book Chapter “Protecting Individuals in the International Battle of State v Digital Platforms: The Importance of Business and Human Rights Approach” (forthcoming) in ‘Keio Global Research Insitute (KRGI)’ Book Project on State-Digital Platform Relations, 2024
- “Parliamentary Monitoring Organisations in Thailand”, Melbourne Asia Review, 2024
- Tech for Good Foundation, ’Evolution of Tech Regulation in the Digital Economy: Spotlight on Southeast Asia’, 2023
- “ผลกระทบและปัญหาใต้พรมของแก๊งคอลเซนเตอร์”, TULAW e-newsletter No.9, ปีที่พิมพ์ 2566
- ‘Thailand Artificial Intelligence Guidelines 1.0 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับมาตรฐานการใช้ปัญญาประดิษฐ์’ ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ 2565
- ‘Professional Journalism Ethics Toolkit 1.0 คู่มือมาตรฐานและแนวปฏิบัติสำหรับงานข่าวและงานสื่อสารมวลชน’ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สนับสนุนโดยไทยพีบีเอส) ปีที่พิมพ์ 2565
- ‘Thailand Data Protection Guidelines 3.0 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล’ ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ 2563
- ‘Thailand Data Protection Guidelines 2.0 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล’ ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ 2562
- แปลหนังสือ ‘ความรู้ฉบับพกพา : กฎหมายระหว่างประเทศ’ (Vaughan Lowe, Very Short Introduction: International Law (OUP VSI series 2015) ฉบับภาษาไทย สำนักพิมพ์ Bookscape ปีที่พิมพ์ 2561
- ‘Thailand Data Protection Guidelines 1.0 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล’ ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่พิมพ์ 2561
- “กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับความเป็นส่วนตัวในโลกดิจิทัล” นิตยสารดุลพาห, ฉบับที่ 2 ปี 2560
- “ข้อถกเถียงเกี่ยวกับการนำระบบการกำกับดูแลกันเองมาใช้ควบคุมเนื้อหาบนอินเทอร์เน็ต : ปัญหาของกลไกการแจ้งเตือนและนำออก (Notice and Takedown) ตามพระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ฯ พ.ศ. 2560” ปีที่พิมพ์ 2559 สพธอ.
- “Trust as a Currency in the Digital Economy” in Thai-American Business Magazine, (Volume 4, 2017)
- “ปกิณกะกฎหมาย : ข้อสังเกตบางประการต่อประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมปเกี่ยวกับสแปมประกอบพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560”, วารสารนิติศาสตร์ ฉบับที่ 3 ปีที่ 2560
- เนื้อหาและข้อสอบหัวข้อ “สิทธิมนุษยชน” และ “วัฒนธรรม” สำหรับ BOOTCAMP Application สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย, 2017
- แปลและเป็นบรรณาธิการหนังสือ ‘ความรู้ฉบับพกพา : สิทธิมนุษยชน’ (Andrew Clapham, Very Short Introduction : Human Rights (OUP VSI series 2014 2nd Edition) ฉบับภาษาไทย สำนักพิมพ์โอเพ่นเวิร์ลปีที่พิมพ์ 2559
- “กรณีศึกษา: นโยบายชื่อจริงของ Facebook : ใครคือผู้ควบคุมที่แท้จริง” ในหนังสือ ‘โลกใหม่ใครกำกับ’ โดยมูลนิธิเพื่ออินเตอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง ปีที่พิมพ์ 2559
- “บทความแนะนำหนังสือเรื่อง Labour Law and Global Trade ของ B. Hepple” (2006) ลงในวารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 44 ฉบับที่ 4 (2558)
- แปลบทความเรื่อง “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน” เรียบเรียงโดย รศ. ดร. วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม ในโครงการจัดแปลผลงานวิชาการเป็นภาษาอังกฤษเพื่อการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการของต่างประเทศ, ปี 2557