[MOU44 กับกลไกจัดการพื้นที่ทับซ้อนตามแนวทาง UNCLOS]
.
ร่วมเจาะลึกข้อเท็จจริงของ MOU 44 กรอบเจรจาลดความขัดแย้ง หรือข้อจำกัดที่สร้างความเสียเปรียบ ในมุมมองทางกฎหมาย
.
พบกับความรู้ทางกฎหมายหลากหลายและเข้าใจง่าย ชุดที่ 105 จาก #𝐓𝐔𝐋𝐀𝐖𝐈𝐧𝐟𝐨𝐠𝐫𝐚𝐩𝐡𝐢𝐜
.
MOU 44 คือความพยายามของไทยและกัมพูชาในการหาทางออกร่วมกันบนพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลกว่า 26,000 ตร.กม. เพื่อสร้างความร่วมมือแบบ Win-Win Agreements ที่ทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์ ลดความขัดแย้ง และรักษาความสงบในภูมิภาค นอกจากนี้ยังสอดคล้องตามแนวทาง UNCLOS 1982 ที่สนับสนุนให้รัฐที่มีข้อพิพาทหาข้อตกลงร่วมกันแทนการเผชิญหน้า
.
มาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่าน #𝙏𝙐𝙇𝘼𝙒 สรุปประเด็นที่น่าสนใจจากบทสัมภาษณ์ของ ผศ.ดร.กฤษฎากร ว่องวุฒิกุล ในหัวข้อ “UNCLOS1982 ถึง MOU44 พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนและกลไกระงับข้อพิพาท”
ความรู้ทางกฎหมายหลากหลายและเข้าใจง่าย ชุดที่ 105 : #𝙏𝙐𝙇𝘼𝙒 สรุปประเด็นที่น่าสนใจจากบทสัมภาษณ์ของ ผศ.ดร.กฤษฎากร ว่องวุฒิกุล ในหัวข้อ “UNCLOS1982 ถึง MOU44 พื้นที่อ้างสิทธิทับซ้อนและกลไกระงับข้อพิพาท”
p.phaksa